Back
โจทย์ ปรนัย
จากหลักการดังกล่าวและจากสมการการสลายตัว จึงสามารถหาอายุการตายของสิ่งมีชีวิตได้ โดยการตรวจวัดปริมาณค่า C-14 ที่เหลืออยู่ (N) ส่วนค่าปริมาณเริ่มต้นของ C-14 (N0) ประเมินจากปริมาณ C-12 และหารด้วย 1 ล้านล้าน ซึ่งจากค่าครึ่งชีวิตของ C-14 = 5,570 ดังนั้นเวลาที่ใช้ในการสลายตัว (t) หรืออายุของตัวอย่างตั้งแต่สิ่งมีชีวิตนั้นตายลงได้ ก็ประเมินได้จากสมการ
นำเสนอเป็นครั้งแรกโดย วิลเลี่ยม ลิบบี้ ในปี พ.ศ. 2492 มีหลักการว่า รังสีคอสมิก (cosmic ray) จากดวงอาทิตย์ที่ส่งมายังโลกตกกระทบกับอะตอม ไนโตรเจน (N) ในชั้นบรรยากาศ นิวตรอนของรังสีคอสมิกจะรวมกับนิวตรอนของไนโตรเจน กลายเป็น คาร์บอน-14 ซึ่งเป็นธาตุกัมมันตรังสี และเมื่อรวมตัวกับอะตอมของออกซิเจนในอากาศจะเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีองค์ประกอบเป็นคาร์บอน-14 (14CO2 หรือ C-14) ปะปนกันอยู่กับโมเลกุลของคาร์บอนไดออกไซด์ธรรมดา (12CO2 หรือ C-12) ที่มีอยู่โดยทั่วไปในอากาศ หลังจากนั้นทั้ง C-14 และ C-12 จะเข้าสู่ห่วงโซ่อาหารโดยการสังเคราะห์แสงของพืช สัตว์กินพืช คนกินทั้งสัตว์และพืช ดังนั้นอินทรียวัตถุทั้งหมดในโลก จึงประกอบด้วยทั้ง C-14 และ C-12 ในสัดส่วนโดยประมาณที่คงที่ คือ 1:1 ล้านล้านส่วน และเมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง หยุดการรับเข้าของ C-14 และ C-12 จากนั้นคาร์บอน-14 เริ่มสลายตัวไปเป็นไนโตรเจนตามค่าครึ่งชีวิต
-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%
โจทย์ ปรนัย ปัจจุบันในการตรวจหมู่เลือดเพื่อหาความเป็นพ่อ แม่ ลูก อาจจะไม่ได้ผลที่ถูกต้องเสมอไป เนื่องจากลูกไม่จำเป็นต้องมีหมู่เลือดที่ตรงกับพ่อหรือแม่ ดังนั้นเทคนิคทาง molecular จึงเข้ามาแทนที่เพื่อให้เกิดความแม่นยำของการตรวจมากขึ้น โดยเทคนิคที่นำมาใช้ในการตรวจหาพ่อ แม่ ลูก คือการทำ DNA fingerprint ที่ใช้หลักการของ Restriction Fragment Length Polymorphism (RFLP) และการเปรียบเทียบชิ้นส่วน DNA โดยหลักการ gel electrophoresis ครอบครับของ นายฝ้ายและนางสาวไอซ์ มีลูกด้วยกัน 4 คน โดยลูกชาย 1 คน และลูกสาว 1 คน เป็นลูกที่เกิดกับเค้าทั้งสอง ลูกสาวอีก 1 คนเป็นลูกที่เกิดกับนางสาวไอซ์กับสามีเก่า และลูกชายอีก 1 คน เป็นลูกบุญธรรมที่นายฝ้ายรับมาเลี้ยงดู โดยครอบครัวนี้ได้ไปตรวจลักษณะของ DNA และได้ผลวิเคราะห์ ดังภาพ คำถาม : เด็กคนใดที่เป็นลูกที่เกิดจากนายฝ้ายและนางสาวไอซ์
การถอดรหัสยีนคือความสัมพันธ์ทางสายโลหิตฝ่ายแม่ สามารถถยทอดจากแม่สู่ลูกทำให้จะมีรหัสพันธุกรรมของไมโตคอนเดรียลดีเอ็นเอเหมือนกัน
การดูลายพิมพ์ดีเอ็นเอหรือ STR ต้องใช้ดีเอ็นเอในปริมาณมาก จึงเป็นข้อจำกัดในการใช้งานทางนิติเวชศาสตร์ ซึ่งมีปริมาณดีเอ็นเอน้อย หรือมีแบคทีเรีย ปนเปื้อนในตัวอย่างที่ส่งมาตรวจด้วยเทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส ขบวนการสังเคราะห์ชิ้นส่วนดีเอ็นเอในหลอดทดลองซึ่งเลียนแบบขบวนการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ
โจทย์ ปรนัย โรคลมแดด เกิดจากการที่ร่างกายอยู่กลางแจ้ง แดดร้อนจัดเป็นเวลานาน ร่างกายจึงปรับสมดุลอุณหภูมิไม่ทัน ทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิสูงถึง 40 – 41 องศาเซลเซียส โดยอาการของผู้ป่วยที่เป็นลมแดด คือ อาการเป็นลม เพ้อ หมดสติ และอาจเสียชีวิตได้ข้อใดกล่าวถึงวิธีการที่สามารถป้องกันโรคลมแดดได้ถูกต้อง
การลดอุณหภูมิภายในร่างกายของผู้ป่วย ทำได้หลายอย่างแต่ที่ดีที่สุกคือการใช้ผ้าเย็นประคบส่วนต่างๆ ของร่างกาย
ส่วนวิธีอื่นๆเป็นการป้องกันอย่างหนึ่งให้บรรเทาลง เช่น ดื่มน้ำมากๆ เพื่อให้ร่างกายได้รับน้ำอย่างเพียงพอ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
โจทย์ ปรนัย โรค Transposition of the great vessel (TGV) คือความผิดปกติตั้งแต่แรกเกิดของเด็กที่มีการสลับตำแหน่งของเส้นเลือด โดยให้กระบวนการทำงานของหัวใจ ดังภาพการจำลอง คำถาม : ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง หากเด็กทารกที่เกิดมามีภาวะอาการดังกล่าว
การสลับที่กันทำให้หลอดเลือดแดงใหญ่ (aorta) ออกจากหัวใจห้องล่างขวา หลอดเลือดพัลโมนารี (pulmonary artery) ออกจากหัวใจห้องล่างซ้าย ทำให้เลือดที่ส่งไปที่ปอดจะมี o2สูงแทนที่จะมี co2 สูง ทำให้การไหลเวียนสลับกัน
ลือดที่ส่งจากหัวใจไปยังร่างกายจะเป็นเลือดที่มีประมาณ CO2 สูง