1 |
ตารางแสดงร้อยละของปริมาณสารอาหารที่ไม่ถูกย่อยในอวัยวะ X Y และ Z
อวัยวะ X Y และ Z ควรเป็นอวัยวะใดตามลำดับ
|
4. กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ปาก |
|
เพราะกระเพาะใช้ย่อยอาหารมากที่สุด ลำไส้เล็กลำเลียงและดูดซึมสารอาหาร ปากเป็นทางผ่าน และย่อยด้วยเอมไซด์
|
ลำไส้เล็ก เป็นอวัยวะซึ่งมีหน้าที่ย่อยอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
กระเพาะอาหารเป็นอวัยวะสำคัญ ทำหน้าที่ย่อยอาหาร โดยการผลิตน้ำย่อย ซึ่งเป็นกรดในการย่อยอาหาร
ปากส่งอาหารให้ฟันบดเคี้ยว และลิ้นยังทำหน้าที่รับรสชาติอาหาร และคลุกเคล้าอาหารกับน้ำลายเพื่อให้อาหารอ่อนนุ่ม กลืนสะดวก
Google
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
ใช้ตารางข้อมูลต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถามข้อที่ 2-3
กำหนดให้คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม มีพลังงาน 4 กิโลแคลอรี โปรตีน 1 กรัม มีพลังงาน 4 กิโลแคลอรี และไขมัน 1 กรัม มีพลังงาน 9 กิโลแคลอรี
หากนาย A รับประทานอาหารกลางวันทุกอย่างในตาราง อย่างละ 1 หน่วย นาย A จะได้รับพลังงานทั้งหมดในมื้ออาหารนี้กี่กิโลแคลอรี
|
5. 2,413 กิโลแคลอรี |
|
คำนวณใกล้เคียงกับพลังงานกิโลแคลอรี่มากที่สุด
|
คำนวณตามโจทย์ที่ให้มา
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
ใช้ตารางข้อมูลต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถามข้อที่ 2-3
กำหนดให้คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม มีพลังงาน 4 กิโลแคลอรี โปรตีน 1 กรัม มีพลังงาน 4 กิโลแคลอรี และไขมัน 1 กรัม มีพลังงาน 9 กิโลแคลอรี
นาย A มีความต้องการในการใช้พลังงานต่อวันเท่ากับ 2,500 กิโลแคลอรี หากใน 1 วัน นาย A รับประทานเฉพาะอาหารเช้าและกลางวันด้วยรายการอาหารข้างต้น นาย A ควรเลือกทำกิจกรรมใดเพื่อไม่ให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
|
เล่นฟุตบอล |
|
เป็นกิจกรรมที่ใช้พลังงานกิโลแคลอรี่มากที่สุด
|
การเตะฟุตบอล สามารถเผาผลาญ 900-1,400 เเคลอรี่ต่อชั่วโมง การเล่นฟุตบอลเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่สามารถช่วยเผาผลาญเเคลอรี่ได้เป็นอย่างดี
Google
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
ในระบบทางเดินอาหารของมนุษย์ประกอบด้วยเอนไซม์ทริปซินและเอนไซม์เปปซิน ซึ่งจัดเป็นเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเร่งปฏิกิริยาการย่อยโปรตีนทั้งคู่ กราฟในข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง pH กับความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ทริปซินและเอนไซม์เปปซินได้อย่างเหมาะสมที่สุด
|
 |
|
ตัวเลือกคำตอบเหมือนกันหมด
|
เอนไซม์เพปซิน เป็นเอนไซม์ที่มีบทบาทสำคัญในการย่อยสารอาหารโปรตีน
ทริปซิน (อังกฤษ: trypsin) คือ เอนไซม์ย่อยโปรตีนให้เป็นกรดอะมิโน ถูกผลิตมาจากตับอ่อน ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนและพอลิเพปไทด์ที่มาจากกระเพาะอาหารให้มีโมเลกุลเล็กลงจนเป็นไดเพปไทด์หรือกรดอะมิโนในที่สุด
Google
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
การรับประทานอาหารประเภทใดเป็นประจำส่งผลให้เกิดการผลิตยูเรียในปริมาณสูงขึ้น
|
5. ฟักทอง มันฝรั่งทอด ผักชี โยเกิร์ต |
|
มันฝรั่งทอดมีโซเดียมสูง
|
สารประกอบไนโตรเจนที่สังเคราะห์จากแอมโมเนีย ซึ่งได้จากเมแทบอลิซึมของกรดแอมิโนและโปรตีนที่ตับ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
จากภาพ เลือดที่มีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูงจากแขนด้านขวา จะกลับเข้าสู่หัวใจเพื่อเดินทางไปแลกเปลี่ยนแก๊สและออกจากหัวใจผ่านทางเส้นเลือดใดตามลำดับ
|
1. 2 -> 3 -> 1 -> 4 |
|
หัวใจห้องบนขวารับเลือดที่ไม่มีออกซิเจนลงไปหัวใจห้องล่างขวา
|
Googel
หัวใจห้องบนซ้ายรับเลือดไปบริเวณหัวใจห้องล่างซ้าย
หัวใจห้องล่างซ้ายส่งเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆในร่างกาย
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
ในบุคคลที่มีอาการปวดศีรษะและมีไข้ หลังจากรับประทานยาพาราเซตามอลแล้ว ยาจะถูกย่อยและดูดซึมที่บริเวณลำไส้เล็ก จากนั้น ยาจะถูกลำเลียงไปตามเส้นเลือดต่าง ๆ เพื่อออกฤทธิ์ที่สมอง เส้นทางการลำเลียงของยาจะไม่ผ่านเส้นเลือดใดในภาพ
|
4. 4 |
|
ข้อ4 เพราะเป็นส่วนที่เลือดเตรียมเอาไปเลี้ยงส่วนต่างๆในร่างกายซึ้งเป็นการไหลลงไม่น่าส่งไปถึงสมอง
|
ไม่มีดูจากภาพและคาดการณ์
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติของหลอดเลือดในภาพเคลื่อนไหว
A. ผนังของหลอดเลือดมีความบางและมีลิ้นกันเป็นระยะ
B. ตัวอย่างหลอดเลือดในภาพ ได้แก่ หลอดเลือด pulmonary artery
C. เลือดภายในหลอดเลือดนี้ประกอบไปด้วยเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีออกซิเจนสูง
|
3. C เท่านั้น |
|
ในภาพมีเลือดปนอ็อกซิเจนสูง
|
ไม่มีดูจากภาพและคาดการณ์
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
ในขณะหายใจออก ความดันในปอดและกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
|
3 |
|
การหายใจออก (Expiration)
กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง ทำให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จากถุงลมปอดไปสู่หลอดลมและออกทางจมูก
|
การหายใจออก (Expiration)
กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง ทำให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จากถุงลมปอดไปสู่หลอดลมและออกทางจมูก
google
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
ระหว่างการออกกำลังกายที่มีระดับความหนักมาก (high intensity level) สมดุลในร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร และร่างกายจะต้องใช้กลไกใดเพื่อรักษาสมดุลของร่างกายไว้ให้คงเดิม
|
1 |
|
เวลาออกกำลังกายอย่างหนักเส้นเลือดการหายใจปริมาณความเค็มในเลือดรวมถึงสิ่งต่างๆจะเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลพร้อมกับอุณหภูมิ
|
การออกกำลังทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในร่างกาย เรียกว่า "ปฏิกิริยา" ซึ่งมีลักษณะและความรุนแรง ต่างไปตามความหนักหน่วงของการออกกำลัง เมื่อเลิกออกกำลัง ปฏิกิริยาก็จะหายไป ถ้าออกกำลังซ้ำบ่อยๆ จะเกิด "การปรับตัว" ขึ้นในร่างกาย ทำให้สมรรถภาพเพิ่มขึ้น และปฏิกิริยามีความรุนแรงน้อยลง แม้จะออกกำลังหนักเท่าเดิม
google
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
จากข้อมูลประวัติสุขภาพของบุคคล A B C และ D ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับชนิดของภูมิคุ้มกันที่แต่ละบุคคลได้รับ
|
4 |
|
B C จะได้รับเองหลังจากเริ่มทำหรือเป็นโรค
|
สารภูมิต้านทานในน้ำนมแม่ (Secretory IgA) ทำหน้าที่เสมือนเกราะป้องกันเชื้อโรคต่าง ๆ ไม่ให้เข้าสู่ร่างกายทารก โมเลกุลน้ำตาลในน้ำนมแม่ (Human Milk Oligosaccharide) เป็นอาหารของจุลินทรีย์สุขภาพและป้องกันเชื้อโรคผ่านผนังลำไส้ เม็ดเลือดขาว ช่วยดักจับเชื้อโรคและหลั่งสารต้านการอักเสบ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันที่มีมาแต่กำเนิด (innate immunity)
A. เซลล์เยื่อบุผิวในระบบทางเดินหายใจผลิตเมือกเพื่อช่วยดักจับจุลชีพและสิ่งแปลกปลอม
B. เซลล์เยื่อบุผิวกระเพาะอาหารผลิตกรดไฮโดรคลอริกเพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
C. น้ำตาและน้ำลายมีเอนไซม์ชนิดไลโซไซม์เพื่อช่วยทำลายแบคทีเรียที่อาจเข้าสู่ร่างกายได้ในเบื้องต้น
|
5. A B และ C |
|
A. เซลล์เยื่อบุผิวในระบบทางเดินหายใจผลิตเมือกเพื่อช่วยดักจับจุลชีพและสิ่งแปลกปลอม B. เซลล์เยื่อบุผิวกระเพาะอาหารผลิตกรดไฮโดรคลอริกเพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย C. น้ำตาและน้ำลายมีเอนไซม์ชนิดไลโซไซม์เพื่อช่วยทำลายแบคทีเรียที่อาจเข้าสู่ร่างกายได้ในเบื้องต้น
|
อ้างอิงจากโจทย์ที่ได้อ่านและตีความ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
ในการทดสอบหมู่เลือดของผู้เข้ารับบริการในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง มีผลการทดสอบดังนี้
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
|
4. ไม่มีผู้เข้ารับบริการคนใดมีหมู่เลือด O Rh+ |
|
หมู่เลือด O คือคนที่ไม่มีทั้งสารแอนติเจน
หมู่เลือด O ให้เลือดได้ทุกหมู่
|
เลือดกรุ๊ป O หมู่เลือดนี้ กระเพาะอาหารมีความเป็นกรดสูง ระบบการเผาผลาญไม่ค่อยดี จึงหิวง่าย และอ้วนง่าย
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ (reflex reaction) เป็นปฏิกิริยาการตอบสนองอย่างรวดเร็วของระบบประสาทต่อสิ่งเร้า หากมือของนักเรียนเผลอไปแตะขอบกระทะที่มีความร้อนสูง ร่างกายจะมีกลไกตอบสนองด้วยปฏิกิริยารีเฟล็กซ์โดยมีลำดับขั้นอย่างไร
A. กล้ามเนื้อต้นแขนด้านหน้าหดตัว
B. รีเซฟเตอร์รับความร้อนบริเวณมือถูกกระตุ้น
C. กระแสประสาทถูกส่งเข้าเซลล์ประสาทรับความรู้สึก
D. กระแสประสาทถูกส่งผ่านเซลล์ประสาทสั่งการ
E. กระแสประสาทถูกส่งเข้าไขสันหลัง
|
2. B -> C -> D -> E -> A |
|
ตามความเข้าใจ
|
ปฏิกิริยาตอบสนอง (reaction time) เป็นเวลาตั้ง แต่ร่างกายได้รับสิ่งเร้ามากระตุ้นความรู้สึกจนถึงกล้ามเนื้อ มีการหดตัวแล้วเคลื่อนที่ไปยังจุดเป้าหมาย โดยปกติ ปฏิกิริยาตอบสนองจะมีความเร็วขึ้นจากอายุ 10-20 ปี แล้วค่อย ๆ ลดลงหลังอายุ 30 ปี และชายจะมีปฏิกิริยา ตอบสนองเร็วกว่าหญิง ปฏิกิริยาตอบสนองของมือมักจะ เร็วกว่าเท้า
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะในภาพ
|
5. ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมความคิด ความจำระยะยาว และการทรงตัว |
|
ตามความเข้าใจ
|
สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และภาวะธำรงดุล (homeostasis) เช่น การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรู้ (cognition) อารมณ์ ความจำ การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning) และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้
google
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
จากภาพเคลื่อนไหวที่กำหนด ข้อใดกล่าวถูกต้องดวงตาในภาพเคลื่อนไหวนี้
|
1. บริเวณสีน้ำตาลในดวงตา เกิดจากการสะสมของสารสี (pigment) ภายในชั้นกระจกตา (cornea) |
|
สีตาของมนุษย์มีกำเนิดมาจากยีนสามตัว ซึ่งสองในสามนี้เป็นที่เข้าใจกันดี ยีนเหล่านี้เป็นตัวกำหนดสีที่พบมากที่สุด ได้แก่ สีเขียว สีน้ำตาล และสีน้ำเงิน สีอื่น ๆ เช่น สีเทา สีน้ำตาลแดง และสีที่ผสมหลากสียังไม่เป็นที่เข้าใจหรือยังไม่อาจอธิบายได้ทั้งหมดในขณะนี้
|
สีตาของมนุษย์มีกำเนิดมาจากยีนสามตัว ซึ่งสองในสามนี้เป็นที่เข้าใจกันดี ยีนเหล่านี้เป็นตัวกำหนดสีที่พบมากที่สุด ได้แก่ สีเขียว สีน้ำตาล และสีน้ำเงิน สีอื่น ๆ เช่น สีเทา สีน้ำตาลแดง และสีที่ผสมหลากสียังไม่เป็นที่เข้าใจหรือยังไม่อาจอธิบายได้ทั้งหมดในขณะนี้
Google
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
จากภาพประกอบข้างต้น ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการมองเห็นวัตถุของบุคคลที่มีค่าสายตาแบบต่างๆ
I. ภาพ A แสดงการมองเห็นของบุคคลสายตาปกติ เลนส์จึงรวมแสงให้ภาพตกกระทบที่บริเวณเรตินาพอดี
II. ภาพ B แสดงการมองเห็นของบุคคลสายตาสั้น เนื่องจากเลนส์ตาหดสั้นมากที่สุด เลนส์จึงรวมแสงให้ภาพตกกระทบก่อนถึงบริเวณเรตินา
III. ภาพ C แสดงการมองเห็นของบุคคลสายตาสั้น เนื่องจากกระบอกตาหดสั้นมากที่สุด เลนส์จึงรวมแสงให้ภาพตกกระทบบริเวณหลังเรตินา
|
4. I และ II |
|
A แสดงการมองเห็นของบุคคลสายตาปกติ เลนส์จึงรวมแสงให้ภาพตกกระทบที่บริเวณเรตินาพอดี II. ภาพ B แสดงการมองเห็นของบุคคลสายตาสั้น เนื่องจากเลนส์ตาหดสั้นมากที่สุด เลนส์จึงรวมแสงให้ภาพตกกระทบก่อนถึงบริเวณเรตินา
|
วิเคราะห์จากโจทย์
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
จงเติมประโยคต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ โดยใช้คำศัพท์ที่กำหนดให้เพื่ออธิบายภาพเคลื่อนไหวด้านบนได้อย่างถูกต้อง
“ภาพแสดงการเคลื่อนไหวของ ________ ซึ่งพบได้ในบริเวณ _______ ทำให้สามารถ __________”
ข้อต่อแบบบานพับ ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้า หัวไหล่ หัวเข่า หมุนได้หลายทิศทาง หมุนได้ในทิศทางขึ้นลง
|
3. ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้า หัวไหล่ หมุนได้หลายทิศทาง |
|
วิเคราะห์จากโจทย์
|
ข้อไหล่ที่ปกติสามารถเคลื่อนไหวในทิศทางต่างๆได้ดังนี้ ยกแขนไปด้านหน้า (Flexion) 180 องศา ดันแขนไปด้านหลัง (Extension) 50 องศา กางแขนไปด้านข้าง (Abduction) 180 องศา หุบแขน (Adduction) 40 องศา หมุนไหล่เข้าด้านใน (Internal rotation) 90 องศา หมุนไหล่ออกด้าน นอก (External rotation) 90 องศา
google
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อที่ 19-20
ลักษณะผิวเผือกเป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกส่งผ่านอัลลีลด้อยบนโครโมโซมร่างกาย ครอบครัวหนึ่งมีพ่อและแม่ผิวปกติทั้งคู่ แต่เพียงแค่พ่อเท่านั้นที่เป็นพาหะของลักษณะผิวเผือก
จงคำนวณโอกาสที่จะมีลูกชายผิวปกติ
|
2. 0.25 |
|
วิเคราะห์จากโจทย์
|
เกิดจากความผิดปกติทางพันธุ์กรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ผิดปกติ ซึ่งควบคุมโดยยีนด้อยนั้น แม้จะดูจากภานอกทั้งพ่อและแม่จะมีลักษณะปกติ แต่ทั้งคู่มียีนด้อย ซึ่งมีลักษณะผิดปกติแฝงอยู่หรือเรียกได้ว่าทั้งพ่อและแม่เป็นพาหะของลักษณะผิดปกตินั้น ลูกก็มีโอกาสได้รับยีนผิดปกตินั้นทั้งคู่ได้
http://www.student.chula.ac.th/
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
คำตอบจากข้อ 19 สามารถตีความได้อย่างไร จงอธิบายโดยใช้เหตุผลของหลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมประกอบคำอธิบาย
|
ถ้าพ่อเป็นแม่ไม่เป็นลูกจะมีโอกาสเป็นแค่1ใน4เท่านั้น |
|
ถ้าพ่อเป็นพาหะแม่ไม่เป็นพาหะลูกจะปกติ3คนและเป็นโรค1คน
|
โรคทางพันธุกรรม (Genetic Disorders) คือ โรคที่ได้รับการติดต่อ หรือถ่ายทอดจากฝั่งพ่อ และแม่ โดยมีหน่วยพันธุกรรม หรือยีนเป็นตัวควบคุมการถ่ายทอดลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น สีผิว ความสูง น้ำหนัก ไอคิว การห่อลิ้น เป็นต้น หากยีนของพ่อ หรือแม่มีความผิดปกติแฝงอยู่แม้เพียงเล็กน้อยอาจทำให้หน่วยพันธุกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|