1 |
ตารางแสดงร้อยละของปริมาณสารอาหารที่ไม่ถูกย่อยในอวัยวะ X Y และ Z
อวัยวะ X Y และ Z ควรเป็นอวัยวะใดตามลำดับ
|
3. กระเพาะอาหาร ปาก ลำไส้เล็ก |
|
ปากย่อยอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรตและไขมัน
ส่วน กระเพาะอาหารย่อยพวกโปรตีน
ลำไส้เล็กใช้ในการดูดซึม
|
ปากย่อยอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรตและไขมัน
ส่วน กระเพาะอาหารย่อยพวกโปรตีน
ลำไส้เล็กใช้ในการดูดซึม
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
ใช้ตารางข้อมูลต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถามข้อที่ 2-3
กำหนดให้คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม มีพลังงาน 4 กิโลแคลอรี โปรตีน 1 กรัม มีพลังงาน 4 กิโลแคลอรี และไขมัน 1 กรัม มีพลังงาน 9 กิโลแคลอรี
หากนาย A รับประทานอาหารกลางวันทุกอย่างในตาราง อย่างละ 1 หน่วย นาย A จะได้รับพลังงานทั้งหมดในมื้ออาหารนี้กี่กิโลแคลอรี
|
3. 2,388 กิโลแคลอรี |
|
นำทุกอย่างคูณอัตราต่อ1กรัมแล้วนำมารวมกัน
|
หาว่าอาหารแต่ละชนิดอยู่หมู่ใดแล้วนำมาคูณด้วยอัตราต่อ1กรัมแล้วนำทุกอย่างมารวมกัน
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
ใช้ตารางข้อมูลต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถามข้อที่ 2-3
กำหนดให้คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม มีพลังงาน 4 กิโลแคลอรี โปรตีน 1 กรัม มีพลังงาน 4 กิโลแคลอรี และไขมัน 1 กรัม มีพลังงาน 9 กิโลแคลอรี
นาย A มีความต้องการในการใช้พลังงานต่อวันเท่ากับ 2,500 กิโลแคลอรี หากใน 1 วัน นาย A รับประทานเฉพาะอาหารเช้าและกลางวันด้วยรายการอาหารข้างต้น นาย A ควรเลือกทำกิจกรรมใดเพื่อไม่ให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
|
ว่ายน้ำ |
|
|
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
ในระบบทางเดินอาหารของมนุษย์ประกอบด้วยเอนไซม์ทริปซินและเอนไซม์เปปซิน ซึ่งจัดเป็นเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการเร่งปฏิกิริยาการย่อยโปรตีนทั้งคู่ กราฟในข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง pH กับความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ทริปซินและเอนไซม์เปปซินได้อย่างเหมาะสมที่สุด
|
 |
|
pH 2 สำหรับเอนไซม์เปปซิน
|
pH 2 สำหรับเอนไซม์เปปซิน
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
การรับประทานอาหารประเภทใดเป็นประจำส่งผลให้เกิดการผลิตยูเรียในปริมาณสูงขึ้น
|
1. ไข่ต้ม ไก่ทอด นมสด เต้าหู้ |
|
การใช้ปุ๋ยยูเรียทดแทนอาหารโปรตีนจากธรรมชาติในอาหาร
|
การใช้ปุ๋ยยูเรียทดแทนอาหารโปรตีนจากธรรมชาติในอาหาร
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
จากภาพ เลือดที่มีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูงจากแขนด้านขวา จะกลับเข้าสู่หัวใจเพื่อเดินทางไปแลกเปลี่ยนแก๊สและออกจากหัวใจผ่านทางเส้นเลือดใดตามลำดับ
|
5. 5 -> 1 -> 3 -> 4 |
|
1. เลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายซึ่งเป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนต่ำ จะไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา (Right Atrium )
2. เมื่อหัวใจบีบตัวเลือดจะไหลจากหัวใจห้องบนขวา ผ่านลิ้นหัวใจลงสู่ห้องล่างขวา ( Right Ventricle )
|
1. เลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายซึ่งเป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนต่ำ จะไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา (Right Atrium )
2. เมื่อหัวใจบีบตัวเลือดจะไหลจากหัวใจห้องบนขวา ผ่านลิ้นหัวใจลงสู่ห้องล่างขวา ( Right Ventricle )
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
ในบุคคลที่มีอาการปวดศีรษะและมีไข้ หลังจากรับประทานยาพาราเซตามอลแล้ว ยาจะถูกย่อยและดูดซึมที่บริเวณลำไส้เล็ก จากนั้น ยาจะถูกลำเลียงไปตามเส้นเลือดต่าง ๆ เพื่อออกฤทธิ์ที่สมอง เส้นทางการลำเลียงของยาจะไม่ผ่านเส้นเลือดใดในภาพ
|
4. 4 |
|
|
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติของหลอดเลือดในภาพเคลื่อนไหว
A. ผนังของหลอดเลือดมีความบางและมีลิ้นกันเป็นระยะ
B. ตัวอย่างหลอดเลือดในภาพ ได้แก่ หลอดเลือด pulmonary artery
C. เลือดภายในหลอดเลือดนี้ประกอบไปด้วยเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีออกซิเจนสูง
|
3. C เท่านั้น |
|
เพราะในเม็ดเลือดแดงจะมีปริมาณออกซิเจนสูง
|
เพราะในเม็ดเลือดแดงจะมีปริมาณออกซิเจนสูง
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
ในขณะหายใจออก ความดันในปอดและกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
|
5 |
|
หายใจออก
ซี่โครงเลื่อนต่ำลง
กะบังลมคลายตัว
ปริมาตรช่องอกลดลง
ความดันในปอดเพิ่มขึ้น
อากาศจึงออกจากปอด
|
หายใจออก
ซี่โครงเลื่อนต่ำลง
กะบังลมคลายตัว
ความดันในปอดเพิ่มขึ้น
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
ระหว่างการออกกำลังกายที่มีระดับความหนักมาก (high intensity level) สมดุลในร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร และร่างกายจะต้องใช้กลไกใดเพื่อรักษาสมดุลของร่างกายไว้ให้คงเดิม
|
1 |
|
การออกกำลังกายที่มีระดับความหนักมาก
จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น อัตราการหายใจเพิ่ม
ค่า ph เพิ่ม เส้นเลือดฝอยขยายตัว
|
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
จากข้อมูลประวัติสุขภาพของบุคคล A B C และ D ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับชนิดของภูมิคุ้มกันที่แต่ละบุคคลได้รับ
|
4 |
|
การได้รับวัคซีนหรือซีรัมนับเป็นการได้รับภูมิคุ้มกันมา
|
AและD มีคำว่าได้รับจึงเป็นภูมิคุ้มกันแบบรับมา
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันที่มีมาแต่กำเนิด (innate immunity)
A. เซลล์เยื่อบุผิวในระบบทางเดินหายใจผลิตเมือกเพื่อช่วยดักจับจุลชีพและสิ่งแปลกปลอม
B. เซลล์เยื่อบุผิวกระเพาะอาหารผลิตกรดไฮโดรคลอริกเพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
C. น้ำตาและน้ำลายมีเอนไซม์ชนิดไลโซไซม์เพื่อช่วยทำลายแบคทีเรียที่อาจเข้าสู่ร่างกายได้ในเบื้องต้น
|
5. A B และ C |
|
มีมาแต่กำเนิด
|
มีมาแต่กำเนิด
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
ในการทดสอบหมู่เลือดของผู้เข้ารับบริการในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง มีผลการทดสอบดังนี้
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
|
1. มีผู้เข้ารับบริการ 2 คน ที่มีหมู่เลือดในระบบ ABO หมู่เดียวกัน |
|
|
บมความฟื้นวิชา
ยุพา เอื้อวิจิตรอรุณ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ (reflex reaction) เป็นปฏิกิริยาการตอบสนองอย่างรวดเร็วของระบบประสาทต่อสิ่งเร้า หากมือของนักเรียนเผลอไปแตะขอบกระทะที่มีความร้อนสูง ร่างกายจะมีกลไกตอบสนองด้วยปฏิกิริยารีเฟล็กซ์โดยมีลำดับขั้นอย่างไร
A. กล้ามเนื้อต้นแขนด้านหน้าหดตัว
B. รีเซฟเตอร์รับความร้อนบริเวณมือถูกกระตุ้น
C. กระแสประสาทถูกส่งเข้าเซลล์ประสาทรับความรู้สึก
D. กระแสประสาทถูกส่งผ่านเซลล์ประสาทสั่งการ
E. กระแสประสาทถูกส่งเข้าไขสันหลัง
|
5. B -> D -> E -> C -> A |
|
ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์, รีเฟล็กซ์แอกชัน, รีเฟล็กซ์อาร์ก,วงจรรีเฟล็กซ์, ปฏิกิริยาตอบสนองแบบทันทีทันใด
|
รีเฟล็กซ์ หรือ ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ (อังกฤษ: Reflex) เป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยนอกการควบคุมของจิตใจ (involuntary) ที่เกิดขึ้นอย่างแทบฉับพลันทันที (instantaneous) เพื่อเป็นการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น (stimulus) โดยปกติ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะในภาพ
|
5. ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมความคิด ความจำระยะยาว และการทรงตัว |
|
ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมทุกอย่าง
|
สมอง คืออวัยวะสำคัญในสัตว์หลายชนิดตามลักษณะทางกายวิภาค หรือที่เรียกว่า encephalon จัดว่าเป็นส่วนกลางของระบบประสาท
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
จากภาพเคลื่อนไหวที่กำหนด ข้อใดกล่าวถูกต้องดวงตาในภาพเคลื่อนไหวนี้
|
2. บริเวณสีขาวในดวงตา (sclera) ทำหน้าที่เป็นม่านตา (iris) เพื่อกรองแสงไม่ให้เข้าสู่ดวงตามากเกินไป |
|
ม่านตา (Iris) คือส่วนที่อยู่รอบๆรูม่านตา ทำหน้าที่ควบคุมปริมาณแสงที่จะผ่านเข้าไปในดวงตา ม่านตาของคนเราจะมีสีที่แตกต่างกันไปตามเชื้อชาติและลักษณะทางพันธุกรรม
|
บทความสุขภาพ สมิติเวช
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
จากภาพประกอบข้างต้น ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการมองเห็นวัตถุของบุคคลที่มีค่าสายตาแบบต่างๆ
I. ภาพ A แสดงการมองเห็นของบุคคลสายตาปกติ เลนส์จึงรวมแสงให้ภาพตกกระทบที่บริเวณเรตินาพอดี
II. ภาพ B แสดงการมองเห็นของบุคคลสายตาสั้น เนื่องจากเลนส์ตาหดสั้นมากที่สุด เลนส์จึงรวมแสงให้ภาพตกกระทบก่อนถึงบริเวณเรตินา
III. ภาพ C แสดงการมองเห็นของบุคคลสายตาสั้น เนื่องจากกระบอกตาหดสั้นมากที่สุด เลนส์จึงรวมแสงให้ภาพตกกระทบบริเวณหลังเรตินา
|
4. I และ II |
|
เพราะคนสายตาปกติ จะโฟกัสพอดีและคนสายตาสั้นจะโฟกัสสั้น
|
สายตาปกติ
สายตาสั้น
สายตายาว
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
จงเติมประโยคต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ โดยใช้คำศัพท์ที่กำหนดให้เพื่ออธิบายภาพเคลื่อนไหวด้านบนได้อย่างถูกต้อง
“ภาพแสดงการเคลื่อนไหวของ ________ ซึ่งพบได้ในบริเวณ _______ ทำให้สามารถ __________”
ข้อต่อแบบบานพับ ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้า หัวไหล่ หัวเข่า หมุนได้หลายทิศทาง หมุนได้ในทิศทางขึ้นลง
|
3. ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้า หัวไหล่ หมุนได้หลายทิศทาง |
|
ข้อต่อแบบบอลล์ แอนด์ ซอกเคท ( ball and socket joint ) ทำให้สามารถเคลื่อนไหว ได้อิสระหลายทิศทาง
|
ข้อต่อแบบบอลล์ แอนด์ ซอกเคท ( ball and socket joint ) ข้อต่อแบบนี้เกิดจากหัวกระดูกชิ้นหนึ่ง มีลักษณะเป็น ทรงกลม สวมเข้าไปใน เบ้าซี่งมีลักษณะทรงกลม ของกระดูกอีกชิ้นหนึ่ง ทำให้สามารถเคลื่อนไหว ได้อิสระหลายทิศทาง
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อที่ 19-20
ลักษณะผิวเผือกเป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกส่งผ่านอัลลีลด้อยบนโครโมโซมร่างกาย ครอบครัวหนึ่งมีพ่อและแม่ผิวปกติทั้งคู่ แต่เพียงแค่พ่อเท่านั้นที่เป็นพาหะของลักษณะผิวเผือก
จงคำนวณโอกาสที่จะมีลูกชายผิวปกติ
|
2. 0.25 |
|
|
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
คำตอบจากข้อ 19 สามารถตีความได้อย่างไร จงอธิบายโดยใช้เหตุผลของหลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมประกอบคำอธิบาย
|
|
|
|
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|