1 |
จงระบุชนิดของ bonding ที่โดยทั่วไปเกี่ยวข้องกับการจับยากับตำแหน่งจับของโปรตีน
|
4. Sulfide bond |
|
เพราะว่ามันมีสารบางอย่างที่ทำลายพันธะนี้ได้ เช่น dithiothreitol
|
ไฟล์ของดร.อนุสรณ์ เชิดทอง ที่อ้างอิงมาจากงานวิจัยในต่างประเทศ
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
ความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดของผู้ป่วยหลังจาก t ชั่วโมง จำลองตามสูตร C (t) = 11(0.72)^t โดยที่ C วัดเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร ความเข้มข้นเริ่มต้นของยาคือเท่าไหร่
|
1. 10 |
|
ใช้สูตรข้างต้น
|
ใช้สูตรข้างต้น
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
ไกลโคเจนเป็นพอลิเมอร์สายโซ่กิ่งของหน่วย α-D-กลูโคส ซึ่งสายโซ่เกิดจากการเชื่อมโยงไกลโคซิติก C1-C4 ในขณะที่การแตกกิ่งเกิดจากการก่อตัวของการเชื่อมโยงไกลโคซิติก C1-C6 โครงสร้างของไกลโคเจนคล้ายกับ________________
|
2. Amylopection |
|
โครงสร้างไกลโคเจน (Glycogen) คล้ายกับอะไมโลเพกทิน กล่าวคือ แอลฟา-ดี-กลูโคส
เชื่อมต่อกันด้วยพันธะไกลโคซิดิกชนิดแอลฟา-1,4’- แต่ทุก 12-18 หน่วยของกลูโคส จะเชื่อมด้วย
พันธะไกลโคซิดิกชนิดแอลฟา-1,6
|
สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี, 2552, หน้า 226
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
ข้อความใดต่อไปนี้เป็นจริงเกี่ยวกับอันตรกิริยาการจับที่เป็นไปได้ของเอไมด์ทุติยภูมิ
|
1. สามารถเข้าร่วมในพันธะไฮโดรเจนได้ในฐานะผู้ให้พันธะไฮโดรเจนเท่านั้น |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
ความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดของผู้ป่วยหลังจาก t ชั่วโมง จำลองตามสูตร C (t) = 11(0.72)^t โดยที่ C วัดเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร ต้องใช้เวลานานเท่าใดที่ความเข้มข้นจะลดลงถึง 50% ของระดับเริ่มต้น
|
2. 5.1 hr |
|
ใช้สูตรข้างต้น
|
ใช้สูตรข้างต้น
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
สารอะนาล็อกของสารประกอบตะกั่วมักจะเตรียมได้โดยทำการอัลคิเลตหมู่เอมีน ถ้ามีอยู่ ข้อความใดต่อไปนี้เป็นเท็จ
|
2. ค่อนข้างง่ายที่จะทำหมู่อัลคิเลตเอมีน ไม่ว่าจะโดยตรงหรือผ่านเอไมด์ |
|
-
|
-
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
โครงสร้าง I เป็นสารลดความดันโลหิตซึ่งออกฤทธิ์ โดยการยับยั้งเอนไซม์แองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติงเอ็นไซม์ (ACE) โครงสร้าง II ได้รับการออกแบบให้จับกับตำแหน่งที่ยึดแน่นมากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
กลยุทธ์ใดต่อไปนี้ใช้ในการออกแบบโครงสร้าง II
|
3. Isostere |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
ใช้รูปนี้ตอบคำถาม 8-10
Drug Concentrations
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by, C (t) = C0 e-rt,
Where C (t) represents the concentration at time t (inhours), C0 is the concentration of the drug in the blood immediately after injection, and r>0 is a constant indicating the removal of the drug by the Body through metabolism and/or excretion. The rate constant r has units of 1/time (1/hr). It is important to note that this model assumes that the blood concentration of the drug (C0) peaks immediately when the drug is injected.
ข้อ 8 ถ้า
r = 0.081 /hr
C0 = 5 mg/L
t =4
จากรูปจงหาความเข้มข้นของยา ณ เวลาที่ฉีด
|
1. 7.2 mg/L |
|
ใช้สูตรข้างต้น
|
ใช้สูตรข้างต้น
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
ใช้รูปนี้ตอบคำถาม 8-10
Drug Concentrations
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by, C (t) = C0 e-rt,
Where C (t) represents the concentration at time t (inhours), C0 is the concentration of the drug in the blood immediately after injection, and r>0 is a constant indicating the removal of the drug by the Body through metabolism and/or excretion. The rate constant r has units of 1/time (1/hr). It is important to note that this model assumes that the blood concentration of the drug (C0) peaks immediately when the drug is injected.
ข้อ 9. จงหาค่า r ถ้า Initial concentration = 10 mg/L t=2
8.5 mg/L is shown after 2 hours.
|
1. 0.03 |
|
ใช้สูตรข้างต้น
|
ใช้สูตรข้างต้น
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
ใช้รูปนี้ตอบคำถาม 8-10
Drug Concentrations
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by, C (t) = C0 e-rt,
Where C (t) represents the concentration at time t (inhours), C0 is the concentration of the drug in the blood immediately after injection, and r>0 is a constant indicating the removal of the drug by the Body through metabolism and/or excretion. The rate constant r has units of 1/time (1/hr). It is important to note that this model assumes that the blood concentration of the drug (C0) peaks immediately when the drug is injected.
ข้อ 10 จงหาค่า t หากยา x, มี r =0.21 แล้วมีความเข้มข้นลดลง 35%
|
1. 3.3 hr |
|
ใช้สูตรข้างต้น
|
ใช้สูตรข้างต้น
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
อธิบายการกลายพันธุ์ 2 แบบ ที่อาจส่งผลต่อระดับ Warfarin และผลกระทบที่เกิดขึ้น
|
1.เอนไซม์ CYP2C9
2.เอนไซม์ UGT1A1 |
|
1.เอนไซม์ CYP2C9 เป็นเอนไซม์หลักในการเปลี่ยนแปลงยาวาร์ฟารินในรูป S-warfarin ไปเป็น S-7-OH-WAR ซึ่งเป็นสารเมแทบอไลต์หลัก โดยแอลลีลที่พบได้บ่อยและมีผลต่อการตอบสนองต่อยาวาร์ฟารินคือ CYP2C9*2 และ CYP2C9*3 ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการทำงานของเอนไซม์ CYP2C9 ที่ลดลง
2. เนื่องจากยาวาร์ฟารินในรูป S-isomer ถูกเปลี่ยนสภาพด้วยเอนไซม์ CYP2C9 ได้สารเมแทบอไลต์ 7-OH-WAR จากนั้น 7-OH-WAR จะถูกคอนจูเกตต่อด้วยเอนไซม์ UGT1A1 ในตับ แล้วขับออกทางปัสสาวะ มี
การศึกษารายงานถึงผลของภาวะพหุสัณฐานทางพันธุกรรมของยีนUGT1A1 ที่มีต่อการรักษาด้วยยาวาร์ฟารินในชาวบราซิล โดยพบว่าผู้ป่วยที่มีแอลลีลแบบ UGT1A1*28(TA)7 (rs8175347) มีความต้องการขนาดยาวาร์ฟารินสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
|
เว็ปไซต์โรงบาลสิริราช ที่อ้างอิงจากงานวิจัยของต่างประเทศ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
เหตุใดจึงเป็นเรื่องปกติที่จะให้ยา Warfarin ในขนาดเริ่มต้นที่แตกต่างกันกับผู้คนตามเชื้อชาติของพวกเขา? ความเกี่ยวข้องของปัญหานี้กับการทดลองทางคลินิกยาคืออะไร
|
ค่า INR ไม่เท่ากัน |
|
1. ผู้ป่วยที่มีค่า INR 1.5-1.9ให้ปรับขนาด warfarinเพิ่มขึ้น 5-10% ของ
ขนาดต่อสัปดาห์หรืออาจไม่ปรับยา แต่ใช้วิธีติดตามค่า INR บ่อยขึ้น
เพื่อดูแนวโน้ม (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)
2. ผู้ป่วยที่มีค่า INR ต่ำกว่าช่วงรักษาและกำลังได้รับการปรับยา ควร
ตรวจค่า INR บ่อย ๆอย่างน้อยทุก 2 สัปดาห์ในช่วงปรับยาจนกว่าได้
ค่า INR ที่ต้องการ ความถี่บ่อยขึ้นกับความเสี่ยงต่อการเกิด
thromboembolicของผู้ป่วย หากสูง เช่น prostheticvalve หรือ
malignancy ควรตรวจบ่อยขึ้น (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)
3. ในกรณีที่ค่า INR อยู่นอกช่วงไม่มาก (1.5-2 หรือ3-4) และไม่มีสาเหตุ
ที่ชัดเจน อาจยังไม่ปรับขนาดยา แต่ใช้วิธีติดตามค่าINR บ่อย ๆเพื่อดู
แนวโน้มว่าจะกลับเข้าสู่ระดับช่วงรักษาหรือไม่ การรอโดยไม่แก้ไขนี้
เหมาะสมกับผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อเลือดออกและ
thromboembolism ไม่สูง (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)
4. ผู้ป่วยที่มีค่า INR เกินช่วงรักษาแต่ไม่เกิน 5.0 และไม่มีภาวะเลือด
ออกให้หยุดรับประทานยา1วัน และติดตามค่า INR จนเข้าช่วงรักษา
และเริ่มใหม่ที่ขนาดต่ำลง (ลดลง10% ของขนาดต่อสัปดาห์เดิม)
(คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)
5. ผู้ป่วยที่มีค่า INR อยู่ระหว่าง5.0 ถึง9.0 แต่ไม่มีภาวะเลือดออกให้
หยุดรับประทานวอร์ฟาริน 2วัน และติดตามค่า INR อย่างใกล้ชิดจน
เข้าสู่ช่วงรักษา และเริ่มใหม่ที่ขนาดต่ำลง (ลดลง ประมาณ 20% ของ
ขนาดต่อสัปดาห์เดิม)หากผู้ป่วยมีปัจจัยที่ส่งเสริมที่ทำให้เสี่ยงต่อ
ภาวะเลือดออกง่ายอาจพิจารณาให้vitamin K1 1-2.5 มก. และหาก
ผู้ป่วยมีความเร่งด่วนที่ต้องแก้ไขค่า INR เช่นต้องได้รับการผ่าตัด
พิจารณาให้vitamin K1 2.5-5 มก. เพื่อหวังให้INR กลับมาในช่วง
รักษาใน 24ชั่วโมง (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)
6. ผู้ป่วยที่มีค่า INR มากกว่า9.0 แต่ไม่มีภาวะเลือดออกให้หยุด
ยาวอร์ฟารินและให้vitamin K1 2.5-5 มก.ชนิดรับประทานและ
ติดตามค่า INR อย่างใกล้ชิด โดยคาดว่าจะกลับมาอยู่ในช่วงรักษาใน
24-48ชั่วโมง แต่หากค่า INR ยังสูงอยู่ อาจให้ vitamin K1 1-2 มก.
ชนิดรับประทานอีกครั้ง (คุณภาพของหลักฐานระดับ 3)
|
สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
อธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของ Gleevac
|
จะไปรบกวนการทำงานของเอนไซม์ที่ชื่อ tyrosine kinase ที่มีความสำคัญต่อการเจริญ เติบโตของเซลล์มะเร็ง |
|
1. Imatinib mesylate (Gleevec) ใช้รักษา gastrointestinal stromal tumor ซึ่งเป็นมะเร็งลำไส้ที่พบได้น้อยชนิดหนึ่งและมะเร็งเม็ดเลือดขาว (leukemia) โดยจะไปรบกวนการทำงานของเอนไซม์ที่ชื่อ tyrosine kinase ที่มีความสำคัญต่อการเจริญ เติบโตของเซลล์มะเร็ง โดย Imatinib จัดเป็น small-molecule drug ที่สามารถผ่านเข้าสู่เยื่อหุ้มเซลล์ไปออกฤทธิ์ที่ target ได้โดยตรง
|
รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
อธิบายสั้นๆ เกี่ยวกับอาการของการขาดกลูโคส -6- ฟอสเฟตและสาเหตุของอาการเหล่านี้ ตัวกระตุ้นทั่วไปสำหรับ G6PD มีอะไรบ้าง?
|
เป็นภาวะเม็ดเลือดแดงแตกในหลอดเลือดเฉียบพลัน
ถั่วปากอ้า ลูกเหม็น |
|
ยารักษา โรคแพ้ถั่วปากอ้า เป็นโรคที่เกิดจากการขาดกลูโคส ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนส เพราะเป็นภาวะเม็ดเลือดแดงแตกในหลอดเลือดเฉียบพลัน ที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหันหลังจากรับประทานถั่วปากอ้าสด
|
โรงเรียนวัดน้ำพุ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
อธิบายสมมติฐาน Life on the Edge และเหตุใดจึงเกี่ยวข้องกับโรคอะไมลอยด์
|
ที่จะมีชีวิตที่มีอันตรายและความเสี่ยงมากมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพราะคุณชอบทำตัวสุดโต่งและผิดปกติ |
|
โรคอะไมลอยด์โดสิส (Amyloidosis) เป็นโรคที่พบได้ยาก เกิดจากร่างกายสร้างโปรตีนอะมีลอยด์มากเกินไป จนเข้าไปสะสมตามเนื้อเยื่อของอวัยวะต่างๆ เช่น ตับ ไต หัวใจ ระบบทางเดินอาหารและระบบประสาท ทำให้ระบบการทำงานของอวัยวะนั้นเกิดความผิดปกติ
|
โรงพยาบาลธนบุรี 2
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
จากบทความที่ไปเรื่อง Environmental toxicology จงสรุป table 1
|
- |
|
-
|
-
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
จงเลือกยามา 1 ชนิดแล้วอธิบายลักษณะโมเลกุลโดยละเอียด
|
Ampicillin |
|
จัดเป็นสารที่มี Beta-lactamsm ring เป็นโครงสร้างพื้นฐาน ออกฤิทธ์โดยห้ามการสร้างผนังเซลล์โดยจับกับ Penicillin-binding-protein ชนิด 1-3 ทำ ให้ไม่เกิดTranspeptidation จึงไม่มีการสร้างPeptidoglycan ทำให้มี autolysis ทำให้เซลล์แตก
|
โรงพยาบาลป่าพะยอม
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
จงอธิบายว่ายาที่เลือกนั้นทำงาน mechanism อะไรในร่างกาย
|
ใช้เพื่อรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย |
|
Absorption
Ampicillin มีความคงตัวดีในกรด ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารประมาณ 30-55% มี
ค่า Tmax 1 ชวั่ โมงและ C max 1.8-2.9 mcg/ml และอาหารมีผลลดอัตราและ
ปริมาณการดูดซึมของยาDistribution Ampicillin สามารถแพร่กระจายผ่านรก น้านม และน้าดีได้ดีมีค่า plasma proteinbinding 15-25 %Eliminationประมาณ 90 % ของยาจะถูกกา จัดออกในรูปที่ไม่เปลี่ยนแปลงผ่านทางปัสสาวะ มีบางส่วนถูกขบัออกในรูปของ penicilloic acid และ 6-aminopenicillanic acid มีค่า
half life ประมาณ 0.7 - 1.4 ชั่วโมง
|
โรงพยาบาลป่าพะยอม
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
จงหา molecule ยาที่มาแทนยาชนิดนี้ หากยานั้นขาดแคลนหรือดื้อยา โดยอธิบายทำไมยาใหม่ถึงมาแทนได้
|
Ureidopenicillins |
|
เป็นกลุ่ม Penicillins ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมา มีขอบข่ายการออกฤทธิ์กว้างขวางมาก เป็นยาอนุพันธ์ของ Ampicillin
|
เว็ปไซต์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่อ้างอิงจากงานวิจัยของต่างประเทศ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
จากบทความที่ไปเรื่อง Environmental toxicology จงอธิบาย Research method และวิจารณ์ข้อดีข้อเสียโดยละเอียด
|
- |
|
-
|
-
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|