ตรวจข้อสอบ > มนันญา น้ำดอกไม้ > เคมีเชิงวิทยาศาสตร์การแพทย์ | Chemistry > Part 1 > ตรวจ

ใช้เวลาสอบ 36 นาที

Back

# คำถาม คำตอบ ถูก / ผิด สาเหตุ/ขยายความ ทฤษฎีหลักคิด/อ้างอิงในการตอบ คะแนนเต็ม ให้คะแนน
1


5. ผิดทุกข้อ

ยาที่ดีต้องโครงสร้างหรือองค์ประกอบที่ชัดเจนและละเอียด

พันธะไฮโดรเจน (อังกฤษ: Hydrogen bond) เป็นอันตรากิริยานอนโคเวเลนต์ชนิดหนึ่ง ที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมที่มีสภาพลบหรือมีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีสูงกับอะตอมของไฮโดรเจนที่สร้างพันธะโควาเลนต์กับอะตอมที่มีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีสูงอีกอะตอมหนึ่ง พันธะไฮโดรเจนจัดเป็นแรงทางไฟฟ้าสถิตระหว่างสภาพขั้วบวกและสภาพขั้วลบ หรือเป็นอันตรกิริยาแบบขั้วคู่-ขั้วคู่ ทั้งนี้ พันธะไฮโดรเจนอาจเกิดขึ้นภายในโมเลกุลหรือระหว่างโมเลกุลก็ได้ พลังงานพันธะไฮโดรเจนอยู่ระหว่าง 5-30 kJ/mol ซึ่งมีความแข็งแรงมากกว่าแรงแวนเดอร์วาล์ว แต่อ่อนกว่าพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิก อนึ่ง ในโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน หรือ กรดนิวคลีอิก ก็อาจมีพันธะไฮโดรเจนภายในโมเลกุลได้

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

2


1. Ampicillin

เพราะยาAmpicillin มีลักษณะโครงสร้างโมเลกุลแบบExtension

Ampicillin มีลักษณะเป็นยาเป็นโมเลกุลแบบExtension

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

3


5. ถูกมากกว่า 1 ข้อ

ยาส่วนใหญ่มีโมเลกุลที่คล้ายกัน

ยาที่ใช้รักษาโรคส่วนใหญ่เป็นกลุ่มยาปฏิชีวนะ

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

4


2. Warfarin

Wafarin ใช้รักษาโรคเกี่ยวกับ การต้านการแข็งตัวของเลือด

ยาในกลุ่ม Fluoroquinolones ทั้ง 3 ตัวได้แก่ Norfloxacin, Ofloxacin, Ciprofloxacin ถูกน ามาใช้ มากในการรักษาโรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะโดยยาเหล่านี้มีความแตกต่างในด้านสูตรโครงสร้างรวมถึง คุณสมบัติทางด้านเภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ซึ่งความแตกต่างนี้จะส่งผลต่อการออกฤทธิ์และ ความครอบคลุมเชื้อที่แตกต่างกัน

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

5


การจับยากับตำแหน่งจับของโปรตีน disulfide bond ไม่เกี่ยวข้องกับโรคใด

5. ผิดมากกว่า 1 ข้อ

การจับยากับตำแหน่งจับของโปรตีน disulfide bond ไม่เกี่ยวข้องกับโรคใดที่กล่าวมา

พันธะไดซัลไฟด์ (disulfide bond) คือ พันธะโควาเลนท์ที่แข็งแรงระหว่าง กรดแอมิโนซิสเตอีน (cysteine) ที่อยู่ในโครงสร้างระดับปฐมภูมิ ทำให้เกิดม้วนพับของโปรตีน โดยการสร้างเป็นพันธะที่อยู่ห่างกันในโครงสร้าง

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

6


ความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดของผู้ป่วยหลังจาก t ชั่วโมง จำลองตามสูตร C (t) = 5(8)^t โดยที่ C วัดเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร ความเข้มข้นของยาจะเป็น 80 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่กี่ชั่วโมง

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

7


ข้อใดเกี่ยวข้องกับ plasma measures of GFAP

4. CSQ levels

เกี่ยวข้องทุกข้อยกเว้นข้อ4

น้ำเลือด หรือ พลาสมา คือ ส่วนประกอบของเลือดที่เป็นของเหลว โดยปกติจะมีลักษณะเป็นสีเหลืองใส แต่ถ้าพบไขมันก็จะเห็นเป็นสีขาว มีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 55 ในเลือด พลาสมาได้จากการนำเลือด (blood)ไปปั่นเหวี่ยงและเติมสารป้องกันการแข็งตัวของเลือดลงไป ทำให้พลาสมาสามารถแยกชั้นจากเซลล์เม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด และ เซลล์เม็ดเลือดแดง ไปอยู่ชั้นบนสุดได้ ส่วนซีรั่มก็คือพลาสมาที่ปราศจากไฟบริโนเจน (fibrinogen) หรือเป็นของเหลวที่เกิดจากการแข็งตัวของเลือด

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

8


ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับอันตรกิริยาการจับที่เป็นไปได้ของเอไมด์ทุติยภูมิ

5. ผิดมากกว่า 1 ข้อ

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

9


ความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดของผู้ป่วยหลังจาก t ชั่วโมง จำลองตามสูตร C (t) = 5(0.5)^t โดยที่ C วัดเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร ต้องใช้เวลานานเท่าใดที่ความเข้มข้นจะลดลงถึง 70% ของระดับเริ่มต้น

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

10


ข้อใดมีผลต่อ Aβ-dependent tau phosphorylation

5. ผิดทุกข้อ

ไม่มีข้อถูกต้อง

เป็นโรคเกี่ยวกับการเสื่อมของสมอง

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

11


Drug Concentrations Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by, C (t) = C0 e^(-rt), ถ้า r = 0.041 /hr Co = 9 mg/L t = 7 จากสมการจงหาความเข้มข้นของยา ณ เวลาที่ฉีด

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

12


Drug Concentrations Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by, C (t) = C0 e^(-rt), จงหาค่า r ถ้า Initial concentration = 10 mg/L 3 mg/L is shown after 9 hours.

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

13


Drug Concentrations Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by, C (t) = Co e^(-rt), จงหาสมการที่เป็นไปได้ หากยา x, มี r =0. 09 แล้วมีความเข้มข้นลดลง 80% จาก the model, C(t) = Co e^(-rt)

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

14


การกลายพันธุ์ของยีนใดที่อาจส่งผลต่อระดับ Warfarin

5. ไม่มีข้อถูก

การกลายพันธุ์ของยีนใดที่อาจส่งผลต่อระดับ Warfarin คือ CYP2C9 และ VKORC1 จึงไม่มีข้อถูกต้อง

การกลายพันธุ์ของยีนใดที่อาจส่งผลต่อระดับ Warfarin คือ VKORC1 จะทำให้ร่างกายไวต่อ warfarin มากขึ้น โอกาสที่ยาจะเกินระดับรักษาและเลือดออกมากขึ้น (กลไกการทำงานของ vitamin K epoxide reductase และ target enzyme ของ warfarin ที่จะส่งผลเวลามีการกลายพันธุ์ของ VKORC1

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

15


เป็นเรื่องปกติที่จะให้ยา Warfarin ในขนาดเริ่มต้นที่แตกต่างกันกับผู้คนตามเชื้อชาติของพวกเขา หากให้น้อยเกินไปจะเกิดอะไรขึ้น

3. ทำให้หัวใจวาย

ยาWafarinเป็นยาต้านการแข็งตัวของเลือด หากไม่ได้รับยาที่มากพอหรือเหมาะสมอาจทำให้เลือดไปลี้ยงหรือสูบฉีดไม่พอ อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้

วอร์ฟารินเป็นยาที่มีbioavailability สูงแต่ therapeutic index แคบ ระยะ เวลาในการออกฤทธิ์ของยาจนเห็นผลในการรักษา (onset) สามารถทำนาย ได้ ขนาดของยาที่ออกฤทธิ์ให้ผลการรักษาผู้ป่วยในแต่ละคนจะแตกต่างกัน ในผู้ป่วยคนเดียวกันการได้ขนาดยาเท่ากันก็ยังให้ผลการรักษาที่ไม่สม่ำเสมอ เนื่องจากมีหลายปัจจัยที่มีผลต่อการตอบสนองต่อยาวอร์ฟารินแตกต่างกัน เช ่น  อาหารที่มีวิตามินเคปริมาณมาก  การออกกำลังกาย  การดื่มแอลกอฮอลล์ การไม่ใช้ยาตามแพทย์สั่ง (noncompliance) การใช้ยาอื่นร่วมที่มี ผลต่อยาวอร์ฟาริน หรือสภาวะที่ผู้ป่วยมีโรคอื่นร่วมด้วย เช่น โรคตับ ภาวะ การขาดสารอาหาร และภาวะไข้ เป็นต้น

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

16


ข้อใดไม่ใช่กลไกการออกฤทธิ์ของ Gleevac

2. ผ่านฟอสโฟรีเลชัน

เป็นยารักษาแบบเจาะจงสำหรับรับประทานเพื่อรักษาโรคมะเร็ง อิมาทินิบเป็นตัวยับยั้งโมเลกุลขนาดเล็กที่กำหนดเป้าหมายตัวรับไทโรซีนไคเนสหลายตัว เช่น CSF1R, ABL, c-KIT, FLT3 และ PDGFR-β

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

17


ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการขาดกลูโคส -6- ฟอสเฟต G6PD?

5. ผิดทุกข้อ

เกี่ยวกับCPK

CPK (Creatinine Phosphokinase) หรือ เอนไซม์กล้ามเนื้อ เป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่งที่จะตรวจพบได้เมื่อร่างกายมีการสลายกล้ามเนื้อปนออกมาในกระแสเลือด ซึ่งปกติจะมีค่าอยู่ระหว่าง 15 – 220 U/L แต่ถ้าเราตรวจแล้วพบว่ามีค่าสูงกว่าปกติจะแสดงถึงการที่ร่างกายเริ่มมีการสลายกล้ามเนื้อปนออกมาใช้ นอกเหนือจากการดึงสารประกอบ Phosphate

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

18


ข้อใดไม่ได้อธิบายสมมติฐาน Life on the Edge ที่เกี่ยวข้องกับโรคอะไมลอยด์

5. ผิดทุกข้อ

ผิดทุกข้อ

ะไมลอยด์โดสิส (Amyloidosis) เป็นโรคหายาก พบได้ประมาณ 1 ในแสนคนเท่านั้น เกิดจากการที่ร่างกายสร้างโปรตีนอะมีลอยด์มากเกินไปจนเข้าไปสะสมตามเนื้อเยื่อของอวัยวะต่างๆ เช่น ตับ ไต หัวใจ ระบบทางเดินอาหารและระบบประสาท จนทำให้ระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆเกิดความผิดปกติ

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

19


ข้อใดเกี่ยวข้องกับ Environmental toxicology

5. ถูกมากกว่า 1 ข้อ

มีข้อถูกมากกว่า1ข้อ

พิษวิทยาสิ่งแวดล้อมเป็นสาขาวิชาสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลกระทบที่เป็นอันตรายของสารเคมี ชีวภาพ และกายภาพต่อสิ่งมีชีวิต พิษวิทยาเชิงนิเวศเป็นสาขาย่อยของพิษวิทยาสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลกระทบที่เป็นอันตรายของสารพิษในระดับประชากรและระบบนิเวศ

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

20


จาก Engineered brain-targeted drug delivery systems ที่ใช้คืออะไร

4. ถูกมากกว่า 1 ข้อ

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

ผลคะแนน 52.6 เต็ม 138

แท๊ก หลักคิด
แท๊ก อธิบาย
แท๊ก ภาษา