1 |
|
2. Warfarin |
|
เพราะยา Warfarin เป็นยาในกลุ่มต้านการแข็งตัวของเลือด ใช้ป้องกันการแข็งตัวของเลือดรวมถึงการเกิดลิ่มเลือดที่อาจไปอุดตันในอวัยวะต่างๆได้โดยจะไปรบกวนการทำงานของวิตามิน K ที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือดส่งผลให้เลือดแข็งตัวช้าลงมักใช้ในภาวะที่ร่างกายสร้างลิ่มเลือดที่ไม่พึงประสงค์
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/deep-vein-thrombosis/in-depth/warfarin-side-effects/art-20047592
https://www.drugs.com/warfarin.html
https://www.heart.org/en/health-topics/arrhythmia/prevention--treatment-of-arrhythmia/a-patients-guide-to-taking-warfarin
พบว่าข้อมูลบ่งชี้ไปในทางเดียวกันคือ Warfarin มีฤทธิ์ช่วยลดการแข็งตัวของเลือดไม่มีความเกี่ยวข้องกับโรคทางการขับถ่ายปัสสาวะ
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
|
1. Ampicillin |
|
เมื่อวิเคราะห์จากโครงสร้างทางเคมีพบว่าวงคาร์บอนของ Ampicillin มีลักษณะเป็นวงแหวนห้าเหลี่ยมซึ่งต่างจากสารอื่นในตัวเลือกที่เป็นวงแหวนหกเหลี่ยมและมีพันธะคู่อยู่ภายในซึ่งจากที่โครงสร้างต่างจากสารอื่นโดยสิ้นเชิงนี้ทำให้สารออกฤทธิ์แตกต่างจากสารอื่นโดยสิ้นเชิงโดยจะออกฤทธิ์ยั้บยั้งที่แบคทีเรียไม่ใใช้ร่างกายเราเหมือนสารตัวอื่น
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
https://www.apexbt.com/search/ampicillin?amnoroute
https://www.drugs.com/mtm/ampicillin.html
พบว่าข้อมูลบ่งชี้ไปในทางเดียวกันคือ Ampicillin มีผลต้านแบคทีเรีย
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
|
3. Neostigmine |
|
เพราะเมื่อวิเคราะห์จากโครงสร้างโมเลกุลพบว่า Neostigma มีลักษณะโมเลกุลที่มีสายคาร์บอนที่ยืดยาวออกไป(Extension)ซึ่งต่างจากสารอื่นในตัวเลือกที่ส่วนใหญ่ร่วมเป็นวงแหวนแบบเดี่ยวหรือหลายวง
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
https://www.drugs.com/mtm/neostigmine.html
https://www.mayoclinic.org/drugs-supplements/neostigmine-injection-route/description/drg-20071686
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
|
2. มีประสิทธิภาพ |
|
จากภาพจะเห็นว่าโครงสร้างที่ต่างกันคือโครงสร้าง Nitrogenous base ที่มาต่อกับคาร์บอนตำแหน่งที่สองที่โครงสร้างหนึ่งมีแต่อีกโครงสร้างไม่มีส่งผลให้รูปแบบการใช้งานคล้ายคลึงกันเพราะโครงสร้างมีความคล้ายคลึงกันแต่ประสิทธิภาพต่างกันเพราะการที่มีกลุ่ม Nitrogenous base ของโมเลกุลส่งผลให้ถึงแม้จะจับที่ receptor ของเซลล์อันเดียวกันแต่การกระตุ้นจะมีประสิทธิภาพต่างกันตามโครงสร้าง
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
http://mutualselfcare.org/medicine/medicative/reserpine.aspx?M=k&G=h#:~:text=%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%20%E0%B8%88%E0%B8%B6%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%8B%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%8B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B6%E0%B9%89%E0%B8%99%20%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%99%20%28DA%29%20%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%87%20%28transmitter%20vesicles%29%20%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%81,%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B8%87%20%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%97%20%E0%B8%88%E0%B8%B6%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%20NE%20%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B8%87%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%20%E0%B9%86%20%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B6%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
จาก Engineered brain-targeted drug delivery systems ที่ใช้คืออะไร
|
3. DIX in liposomes |
|
DOX In Liposomes เป็น Engineered heart-targeted drug delivery systems
DEX In Liposomes เป็น Engineered immune-targeted drug delivery systems
DIX In Liposomes เป็น Engineered brain-targeted drug delivery systems
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
https://quest3plus.bpfk.gov.my/front-end/attachment/4391/pharma/80479/V_51726_20210301_112132_D3.pdf#:~:text=Lipo-Dox%20Liposome%20Injection%202mg%2Fml%20Concentrate%20for%20Infusion%20%28doxorubicin,an%20antineoplastic%20agent%20of%20the%20anthracycline%20topoisomerase%20inhibitor.
https://pubs.rsc.org/en/content/getauthorversionpdf/C9TB02538C#:~:text=the%20polymerized%20stealth%20liposomes%20with%20loaded%20dexamethasone%20%28Dex%29,inflamed%20joints%20and%20alleviating%20the%20progression%20of%20RA.
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
ข้อใดเกี่ยวข้องกับ Environmental toxicology
|
3. PCBs |
|
Environmental toxicology เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสารพิษในสิ่งแวดล้อมมีผลกระทบอย่างไรต่อสิ่งมีชีวิตซึ่งสารที่มีความเกี่ยวข้องมากที่สุดคือ โพลีคลอรีน ไบฟีนิลเป็นสารประกอบเคมีที่ก่อมะเร็งได้สูง ซึ่งเดิมใช้ในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและสินค้าอุปโภคบริโภค
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2020/05/pcdnew-2020-05-25_03-30-43_944941.pdf
https://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/biol0951wk_ch2.pdf
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
ข้อใดไม่ได้อธิบายสมมติฐาน Life on the Edge ที่เกี่ยวข้องกับโรคอะไมลอยด์
|
1. การดริฟท์ทางพันธุกรรมซึ่งเป็นการสะสมของการกลายพันธุ์แบบสุ่ม |
|
อะไมลอยด์โดสิส (Amyloidosis) เป็นโรคหายาก พบได้ประมาณ 1 ในแสนคนเท่านั้น เกิดจากการที่ร่างกายสร้างโปรตีนอะมีลอยด์มากเกินไปจนเข้าไปสะสมตามเนื้อเยื่อของอวัยวะต่างๆ เพราะฉะนั้นจากที่โรคอะไมลอยด์พบได้ยากประมาณ 1 ในแสนคนเท่านั้นยีนที่ถ่ยทอดลักษณะนี้ไม่น่าเป็นยีนปกติ wild type allele แต่น่าจะเป็น mutant allele ซึ่งเกิดจากการดริฟท์ทางพันธุกรรมซึ่งเป็นการสะสมของการกลายพันธุ์แบบสุ่ม
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/december-2021/amyloidosis
https://www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/Amyloidosis-Plasmacell
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการขาดกลูโคส -6- ฟอสเฟต G6PD?
|
2. NADPH |
|
เพราะ G6PD เป็นเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหายใจระดับเซลล์หากขาดเอนไซม์ตัวนี้ไปยอมส่งผลต่อกระบนการหายใจระดับเซลล์ในขั้นตอนที่ต้องเปลี่ยน G6P เป็น F6P ซึ่งส่งผลต่อตัวเลือกทุกข้อที่ได้กล่าวข้างต้นยกเว้น NADPH ซึ่งเป็นตัวขนย้ายอิเล็คตรอนในการสังเคราะห์ด้วยแสง
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
https://www.britannica.com/science/cellular-respiration
https://www.britannica.com/science/photosynthesis
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
ข้อใดไม่ใช่กลไกการออกฤทธิ์ของ Gleevac
|
1. ยับยั้งโปรตีนฟิวชัน |
|
Gleevac ถูกนำมาใช้ในการรักษาโรคมะเร็งโดยเป็นตัวยับยั้ง โมเลกุลขนาดเล็กที่มีเป้าหมายเป็นไทโรซีนไคเนสหลายชนิด เช่นCSF1R , ABL , c-KIT , FLT3และPDGFR-β โดยเฉพาะ ใช้สำหรับมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังแบบไมอิลอยด์ (CML) และมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซติกเฉียบพลัน (ALL) ที่เป็นฟิลาเดลเฟียโครโมโซม – บวก (Ph + ), เนื้องอกในทางเดินอาหารบางชนิด(GIST), กลุ่มอาการไฮเปอร์รีโอซิโนฟิลิก (HES) ), มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดอีโอซิโนฟิลิก ( CEL), ภาวะซิสโตไซโตซิสแบบซิสเต็มมิกและกลุ่มอาการไมอีโลดิสพลาสติก
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
https://haamor.com/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9A
https://ndi.fda.moph.go.th/uploads/drug_detail_corporation/doc/word/1163/5f40bb9466ac63aa8d17af838c621813-a1.pdf
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
เป็นเรื่องปกติที่จะให้ยา Warfarin ในขนาดเริ่มต้นที่แตกต่างกันกับผู้คนตามเชื้อชาติของพวกเขา หากให้น้อยเกินไปจะเกิดอะไรขึ้น
|
2. ทำให้เลือดออกมากเกินไป |
|
เพราะยา Warfarin เป็นยาในกลุ่มต้านการแข็งตัวของเลือด ใช้ป้องกันการแข็งตัวของเลือดรวมถึงการเกิดลิ่มเลือดที่อาจไปอุดตันในอวัยวะต่างๆได้โดยจะไปรบกวนการทำงานของวิตามิน K ที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือดส่งผลให้เลือดแข็งตัวช้าลงมักใช้ในภาวะที่ร่างกายสร้างลิ่มเลือดที่ไม่พึงประสงค์
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/deep-vein-thrombosis/in-depth/warfarin-side-effects/art-20047592
https://www.drugs.com/warfarin.html
https://www.heart.org/en/health-topics/arrhythmia/prevention--treatment-of-arrhythmia/a-patients-guide-to-taking-warfarin
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
การกลายพันธุ์ของยีนใดที่อาจส่งผลต่อระดับ Warfarin
|
2. CYP2C6 gene. |
|
เพราะCYP2D6 ทำหน้าที่เปลี่ยนยาเป็นเมตาบอไลท์ ผู้ป่วยที่มีบกพร่องในการทำงานของ CYP2D6 จะมีระดับของยาเหล่านี้ในกระแสเลือดสูงกว่าปกติ และมีผลทำให้การตอบสนองต่อยาเหล่านี้เพิ่มขึ้นซึ่งบางครั้งอาจถึงขั้นทำให้เกิดความเป็นพิษได้ ในทางตรงกันข้ามผู้ป่วยที่มีการทำงานของเอนไซม์นี้สูงกว่าปกติ จะทำให้มีเมตาบอไลท์มากขึ้นจนอาจเกิดความเป็นพิษได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างยาที่เกี่ยวข้องกับ CYP2D6 เช่นยารักษาการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ (Antiarrhythmic), ยากล่อมประสาท (Antidepressants), ยารักษาโรคทางจิต (Antipsychotics), ยาเบต้าบล็อกเกอร์ (β-adrenergic antagonists) เป็นต้น
|
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆดังนี้
https://www.scispec.co.th/learning/index.php/blog/genomics/131221cyp2d6
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
Drug Concentrations
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by,
C (t) = Co e^(-rt),
จงหาสมการที่เป็นไปได้ หากยา x, มี r =0. 09 แล้วมีความเข้มข้นลดลง 80% จาก the model, C(t) = Co e^(-rt)
|
3. In 0.8 = -0.09t |
|
จาก C(t) = Co e^(-rt)
ได้ว่า In 0.8 = -0.09t
|
ใช้สมการ C(t) = Co e^(-rt)
https://www.algebra.com/algebra/homework/logarithm/logarithm.faq.question.898295.html
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
Drug Concentrations Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by, C (t) = C0 e^(-rt),
จงหาค่า r ถ้า Initial concentration = 10 mg/L
3 mg/L is shown after 9 hours.
|
1. 0.13 |
|
จาก C (t) = C0 e^(-rt)
ได้ว่า 3 = 10 e^(-9r)
In(0.3) = -9r
r = 0.13
|
ใช้สมการ C(t) = Co e^(-rt)
https://www.algebra.com/algebra/homework/logarithm/logarithm.faq.question.898295.html
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
Drug Concentrations
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by,
C (t) = C0 e^(-rt),
ถ้า r = 0.041 /hr
Co = 9 mg/L
t = 7
จากสมการจงหาความเข้มข้นของยา ณ เวลาที่ฉีด
|
2. 0.12 mg/L |
|
จาก C(t) = Co e^(-rt)
ได้ว่า C(t) = 0.12 Mg/L
|
ใช้สมการ C(t) = Co e^(-rt)
https://www.algebra.com/algebra/homework/logarithm/logarithm.faq.question.898295.html
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
ข้อใดมีผลต่อ Aβ-dependent tau phosphorylation
|
1. Astrocyte reactivity |
|
แผ่นนิวริติกนอกเซลล์ที่ประกอบด้วยโปรตีนอะไมลอยด์-β (Aβ) และเส้นใยประสาทในเซลล์ที่พันกันซึ่งมีโปรตีนเทาว์ฟอสโฟรีเลตเป็นโปรตีนสองชนิดที่โดดเด่นของโรคอัลไซเมอร์ (AD) และพิษต่อระบบประสาทที่แยกจากกันของโปรตีนเหล่านี้ใน AD ได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตาม การแทรกแซงที่กำหนดเป้าหมาย Aβ หรือ tau ทีละรายการไม่ได้ให้ผลการพัฒนาที่สำคัญ ความสนใจในการโต้ตอบระหว่างAβและเทาใน AD กำลังเพิ่มขึ้น แต่การสืบสวนยาที่เกี่ยวข้องยังอยู่ในวัยเด็ก การทบทวนนี้กล่าวถึงวิธีที่Aβเร่งปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชั่นของเอกภาพและกลไกและวิถีที่เป็นไปได้โดยที่เอกภาพเป็นสื่อกลางในความเป็นพิษของAβ การตรวจสอบนี้ยังอธิบายถึงผลเสริมฤทธิ์ที่เป็นไปได้ระหว่าง Aβ และ tau ต่อเซลล์ microglial และ astrocytes
|
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC8241728/
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
ความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดของผู้ป่วยหลังจาก t ชั่วโมง จำลองตามสูตร C (t) = 5(0.5)^t โดยที่ C วัดเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร ต้องใช้เวลานานเท่าใดที่ความเข้มข้นจะลดลงถึง 70% ของระดับเริ่มต้น
|
5. 2.8 hr. |
|
จากสูตร C (t) = 5(0.5)^t ได้ว่าหากแทน T=2.8 จะได้ C (2.8) = 0.71
|
ใช้สมการ C (t) = 5(0.5)^t
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับอันตรกิริยาการจับที่เป็นไปได้ของเอไมด์ทุติยภูมิ
|
3. สามารถมีส่วนร่วมในพันธะไฮโดรเจนได้ทั้งในฐานะผู้ให้พันธะไฮโดรเจนและตัวรับพันธะไฮโดรเจน |
|
เอไมด์เป็นสารประกอยอินทรีย์ที่ประกอบด้วยธาตุ C , H , O และ N เกิดจากหมู่อะมิโน (–NH2) เข้าไปแทนที่หมู่คาร์บอกซิลเอไมด์เป็นสารประกอยอินทรีย์ที่ประกอบด้วยธาตุ C , H , O และ N เกิดจากหมู่อะมิโน (–NH2) เข้าไปแทนที่หมู่คาร์บอกซิล(–COOH) ในกรดคาร์บอกซิลิก โดยมีสูตรทั่วไปและมีหมู่ฟังก์ชันดังนี้ RCONH2 และ หมู่ฟังก์ชันเอไมด์ นอกจากหมู่อะมิโนเข้าไปแทนที่หมู่ไฮดรอกซิลแล้ว อาจเป็นหมู่ฟังก์ชันอื่น ดังนั้นเอไมด์จึงแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. เอไมด์ปฐมภูมิ (Primary amide) 2. เอไมด์ทุติยภูมิ (Secondary amide) 3. เอไมด์ตติยภูมิ (Tertiary amide)
|
https://majorchemspa.wordpress.com/amide/
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
ข้อใดเกี่ยวข้องกับ Plasma measures of GFAP
|
5 CSI levels |
|
โปรตีนกรดไฟบริลลารีในพลาสมา (GFAP) อาจเกี่ยวข้องกับภาระของอะไมลอยด์ การเสื่อมของระบบประสาท และโรคหลอดเลือดสมอง แต่ความจำเพาะของโรคอัลไซเมอร์ (AD) ในประชากรทั่วไปยังไม่ชัดเจน เราตรวจสอบความสัมพันธ์ของพลาสมา GFAP กับการตรวจเอกซเรย์ปล่อย amyloid และ tau โพซิตรอน (PET), ความหนาของเยื่อหุ้มสมอง, ความเข้มข้นของสารสีขาวมากเกินไป (WMH) และเลือดออกในสมองขนาดเล็ก (CMBs)
|
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC8883441/
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
ความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดของผู้ป่วยหลังจาก t ชั่วโมง จำลองตามสูตร C (t) = 5(8)^t โดยที่ C วัดเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร ความเข้มข้นของยาจะเป็น 80 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่กี่ชั่วโมง
|
1. 1.33 |
|
จาก C (t) = 5(8)^t ได้ว่าเมื่อแทน t=1.33 ได้ c(t) = 80 โดยประมาณ
|
ใช้สมการ C (t) = 5(8)^t
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
การจับยากับตำแหน่งจับของโปรตีน Disulfide bond ไม่เกี่ยวข้องกับโรคใด
|
1. Cancer |
|
ยาที่ใช้รักษาโรคมะเร็งส่วนใหญ่จะไปยับยั้งการรวมตัวของโปรตีนทูบูลินเพื่อสร้างเส้นใยสปินเดิลซึ่งใช้ในการแบ่งเซลล์ซึ่งยังไม่มีความเกี่ยวข้องกับพันธะ disulfide bond
|
https://www.drugs.com/mtm/paclitaxel.html
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|