1 |
|
2. Warfarin |
|
Warfarin (วาฟาริน) เป็นยาในกลุ่มต้านการแข็งตัวของเลือดหรือที่เรียกกันว่ายาละลายลิ่มเลือด โดยแพทย์จะใช้ยานี้ในหลาย ๆ จุดประสงค์ เช่น ใช้รักษาหรือป้องกันภาวะเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำหรือหลอดเลือดแดง รักษาหรือป้องกันโรคลิ่มเลือดอุดกั้นในปอด หรือใช้เพื่อลดความเสี่ยงต่อการโรคหลอดเลือดสมองหรือโรคหัวใจ
|
อ้างอิงจากสมาคมเเพทย์โรคหัวใจเเห่งประเทศไทย ในพระราชบรมราชูปถัมภ์
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
|
4. Propranolol |
|
Propranolol มีสูตรโมเลกุลC16H21NO2 มีโครงสร้างพันธะคล้ายกับWarfarinมีสูตรโมเลกุลC19H16O4
|
อ้างอิงจากสูตรโครงกระดูกเวกเตอร์ของ Neostigmine โมเลกุลเคมียา
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
|
5. ผิดมากกว่า 1 ข้อ |
|
extension เป็นขั้นตอนการสังเคราะห์ดี เอ็น เอ สายใหม่โดยสังเคราะห์ต่อจากส่วนปลาย 5 ของไพรเมอร์ ตามข้อมูลบนดีเอ็นเอ ที่เป็นต้นแบบแต่ละสายโดยอาศัยการทำงานของเอ็นไซม์ดีเอ็นเอโพลิเมอร์เรส (DNA polymerase) ซึ่งเอ็นไซม์นี้สามารถทำงานได้ดีที่สุดที่อุณหภูมิ 72-75o ซ เอนไซม์
|
อ้างอิงจากPrince of Songkla University
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
|
2. มีประสิทธิภาพ |
|
ยากลุ่ม Angiotensin Converting Enzyme Inhibitor (ACEI)ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์โดยยับยั้งเอนไซม์ในร่างกายที่มีชื่อว่า Angiotensin converting enzyme (ACE) ซึ่งปกติจะทำหน้าที่เปลี่ยนสารในร่างกายที่ชื่อ Angiotensin I ให้เป็น Angiotensin II ซึ่ง Angiotensin II จะทำให้หลอดเลือดหดตัวทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น และกระตุ้นการหลั่ง Aldosterone ทำให้มีการดูดซึมเกลือโซเดียมกลับเข้าสู่ร่างกายที่ไต ผลของยากลุ่มนี้จะทำให้หลอดเลือดขยายตัว ความดันโลหิตจึงลดลง ผลข้างเคียงที่พบบ่อยของยากลุ่มนี้คือ ไอแห้งๆ ซึ่งสามารถบรรเทาได้ด้วยการจิบน้ำ หรืออมยาอมที่ทำให้ชุ่มคอ แต่หากมีอาการมาก ควรปรึกษาแพทย์เพื่อพิจารณาเปลี่ยนยา ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ enalapril, lisinopril, Captopril และ Perindopril เป็นต้น
ยากลุ่ม Angiotensin II receptor blocker (ARB)ยากลุ่มนี้พัฒนาต่อมาจากยากลุ่ม ACEI โดยออกฤทธิ์ในการยับยั้งการจับของ Angiotensin ที่ receptor ทำให้ Angiotensin ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ ยากลุ่มนี้มีข้อบ่งใช้และข้อห้ามใช้เหมือนกับยากลุ่ม ACEI แต่ไม่มีผลข้างเคียงที่ทำให้เกิดอาการไอ ดังนั้น หากผู้ป่วยเกิดอาการไอจากการใช้ยากลุ่ม ACEI แพทย์จึงมักจะเปลี่ยนมาใช้ยากลุ่มนี้แทน และเนื่องจากยากลุ่ม ARB และ ACEI ออกฤทธิ์ต้านระบบ renin angiotensin เหมือนกัน จึงไม่ควรใช้ร่วมกัน ตัวอย่างยาในกลุ่ม ARB ได้แก่ Losartan, Valsartan,
|
อ้างอิง โรงพยาบาลเปาโล ยาควบคุมความดันโลหิตในผู้เป็นเบาหวาน
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
จาก Engineered brain-targeted drug delivery systems ที่ใช้คืออะไร
|
1. DOX in liposomes |
|
They demonstrated successful preparation of the modified blood cell membrane-coated systems and loading of DOX. And they verified the red cell membrane coating could improve the circulation time of the systems and locate them close to tumor vessels. Both targeting and therapeutic efficiency studies in cells and in animals illustrated that red blood cell membrane-peptide-coated systems not only had the capability to traverse the BBB, displaying exceptional brain targeting effect, but also could release DOX and prolong the survival of mice. Shi’s group developed a biomimetic nanoparticles by modifying angiopep-2 to the surface of red blood cell membranes to camouflage polymer which was pH-sensitive and coload with anti-cancer drug DOX and BBB regulator lexiscan
|
อ้างอิงจากบทความ Signal Transduction and Targeted Therapy volume 8, Article number: 217 (2023)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
ข้อใดเกี่ยวข้องกับ Environmental toxicology
|
1. pesticide dichlorodiphenyltrichloroethane (DDT) |
|
ผลกระทบการใช้สาร DDT (DichlorodiphenyI trichloroethane) สารเคมีกลุ่มออร์เเกโนคลอรีน ซึ่งในอดีตทั่วโลกเคยนิยมใช้กำจัดแมลงโดยสารเคมีกลุ่มดังกล่าวเป็นสารที่มีพิษ และสลายตัวได้ช้า ไม่ละลายน้ำ ทำให้พบว่ามีการตกค้างในสิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศสะสมในดินและสิ่งเเวดล้อมเป็นระยะเวลานาน
|
อ้างอิงจาก คณะเเพทยศาสตร์รามาธิบดี
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
ข้อใดไม่ได้อธิบายสมมติฐาน Life on the Edge ที่เกี่ยวข้องกับโรคอะไมลอยด์
|
2. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ |
|
มีหลายสมมติฐานเกี่ยวกับกำเนิดของไวรัส เช่น สมมติฐานที่ว่า มันเคยเป็นเซลล์ขนาดเล็กๆ มาก่อน แล้วก็ไปเกาะเซลล์ใหญ่กว่าแบบปรสิต แต่เมื่อเวลาผ่านไป แทนที่เซลล์เล็กนั่นจะค่อยๆ พัฒนาไปข้างหน้า มันกลับพัฒนา ‘ถอยหลัง’ (ถึงเรียกสมมติฐานนี้ว่า Regressive Hypothesis) ค่อยๆ สลัดความเป็นเซลล์ทิ้งไป จนกระทั่งกลายมาเป็นไวรัสแบบที่เรารู้จัก
อีกสมมติฐานหนึ่งบอกว่า ไวรัสอาจจะเกิดจากบางเสี้ยวส่วนของสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตปกติทั่วไปนี่แหละ แต่เป็นเสี้ยวส่วนที่ ‘ไม่รักดี’ แล้วเลย ‘หนี’ หรือหลุดรอดออกมาจากเซลล์ มันก็เลยเป็นเหมือนสารพันธุกรรมเปลือย คือไม่มีอะไรมาห่อหุ้มปกป้อง แล้วค่อยสร้างเปลือกหรือเกราะขึ้นมาหุ้มตัวเองภายหลัง ที่เชื่อว่าเป็นแบบนี้ ก็เพราะมีการค้นพบว่า จริงๆ แล้วยีนหรือสารพันธุกรรมนั้นมัน ‘กระโดด’ ได้ เรียกว่า Jumping Genes คือมันหลุดออกมาจากเซลล์ได้นั่นเอง ซึ่งเรื่องนี้น่าสนุกมากนะครับ สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้
ส่วนสมมติฐานที่สามเป็นเรื่องของ ‘วิวัฒนาการร่วม’ คือทฤษฎีนี้บอกว่า จริงๆ แล้วไวรัสเกิดมาก่อน มันวิวัฒนาการมาจากโมเลกุลที่ซับซ้อนจนกลายเป็นสารพันธุกรรม ถ้าเราคิดว่าไวรัสจิ๋วแล้ว จริงๆ ยังมี ‘ไวรอยด์’ (Viroid) อีกอย่างหนึ่งที่จิ๋วกว่า คือมีแต่สารพันธุกรรมแบบ RNA ที่ไม่มีเปลือกหุ้มอยู่อีก ก็เลยเชื่อกันว่า มันอาจจะมีวิวัฒนาการเป็นขั้นๆ ค่อยๆ เกิดร่วมกันไปก็ได้
แต่จะสมมติฐานไหนก็ตาม ล้วนแล้วแต่มีข้อบกพร่องให้ถกเถียงทั้งนั้น เช่น สมมติฐานเรื่องการถดถอยก็อธิบายไม่ได้ว่าแล้วทำไมปรสิตอื่นที่มีขนาดเล็กจิ๋วเหมือนไวรัส ถึงได้ไม่เป็นแบบไวรัส ส่วนสมมติฐานสารพันธุกรรมหนีออกจากเซลล์ก็อธิบายความซับซ้อนของเปลือกไวรัสไม่ได้ ว่าทำไมมันสามารถสร้างอะไรได้มากขนาดนั้น และสมมติฐานที่สามก็อธิบายไม่ได้อีกว่าแล้วทำไมไวรัสถึงทำร้ายเซลล์ที่มันไปอาศัยอยู่
|
อ้างอิงจากBy Thamonwan KuahaIn Editor's Note
on 03/02/20201 min read
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการขาดกลูโคส -6- ฟอสเฟต G6PD?
|
4. ความเครียด |
|
คพร่องเอนไซม์ G6PD เป็นโรคทางพันธุกรรม ส่วนใหญ่จะพบการถ่ายทอดจากแม่ไปสู่ลูกชาย ในประเทศไทย โดยเพศชายเป็นโรคนี้ประมาณ 15% ส่วนผู้หญิงพบประมาณ 3-4% ซึ่งจากการเก็บข้อมูลพบว่าส่วนใหญ่ผู้หญิงจะเป็นพาหะ และผู้ชายจะเป็นโรค ซึ่งบางคนก็ไม่รู้ตัวมาก่อนว่าตนเองเป็นโรคนี้ เนื่องจากไม่ได้มีการตรวจคัดกรองตั้งแต่แรกเกิด
การที่เม็ดเลือดแดงแตกตัว เกิดจากการที่ร่างกายได้รับสาร หรือยาบางอย่าง เช่น ถั่วปากอ้า ซึ่งมีสารต้านอนุมูลอิสระมาก โดยเฉพาะถั่วปากอ้าสด จะทำให้เม็ดเลือดแดงแตกได้ง่ายกว่าการรับประทานถั่วปากอ้าที่ผ่านการปรุงสุกมาแล้ว
|
อ้างอิงจากโรคแพ้ถั่วปากอ้า” หรือ “ภาวะพร่องเอนไซม์ G6PD” โรคที่พ่อแม่มือใหม่ควรรู้
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
ข้อใดไม่ใช่กลไกการออกฤทธิ์ของ Gleevac
|
2. ผ่านฟอสโฟรีเลชัน |
|
สิ่งมีชีวิตใช้ ATP ในกระบวนการต่างๆ อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ATP ที่ถูกสลายไป
ด้วยน้ำ สามารถถูกสร้างขึ้นมาใหม่ด้วยการรวมตัวระหว่าง ADP กับหมู่ฟอสเฟต ปฏิกิริยานี้มี
G เป็นบวกจึงมีแนวโน้มที่จะไม่เกิดขึ้น เซลล์จึงต้องใช้พลังงานในการผลักดันให้เกิดการสร้าง
ATPกระบวนการสร้าง ATPในเซลล์แบบต่างๆ รวมเรียกว่า ฟอสโฟริเลชัน (phosphorylation)
ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท แบบแรกเป็นการสร้าง ATP จากสารพลังงานสูงตัวอื่นๆ โดยวิธี
การควบคู่ทางปฏิกิริยาและพลังงาน หรือที่เรียกว่า ฟอสโฟริเลชันระดับซับสเตรต (substrate-
level phosphorylation) ATP ยังถูกสร้างขึ้นได้จากสารนำอิเล็กตรอน เช่น NADH และ
FADH2 ซึ่งตัวนำอิเล็กตรอนเหล่านี้สามารถถ่ายทอดอิเล็กตรอนให้แก่ออกซิเจนผ่านทางระบบ การขนส่งอิเล็กตรอนในไมโทคอนเดรีย ทำให้ได้พลังงานที่จะผลักดันให้เกิดการรวมตัวระหว่าง
ADP กับฟอสเฟต กระบวนการนี้เรียกว่า ออกซิเดทีฟฟอสโฟริเลชัน (oxidative-
phosphorylation)สำหรับสิ่งมีชีวิตที่สังเคราะห์แสงเองได้ แสงจะทำให้น้ำแตกตัวให้ออกซิเจน
โปรตอน และอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนจะถูกส่งไปตามระบบการขนส่งอิเล็กตรอนของ
คลอโรพลาสต์ทำให้เกิดพลังงานที่จะสามารถผลักดันให้ ADP กับฟอสเฟตเกิดการรวมตัวกัน
กระบวนการนี้เรียกว่า โฟโตฟอสโฟริเลชัน (photophosphorylation) หรือการเกิด
ฟอสโฟรีเลชันที่ต้องอาศัยแสง
|
อ้างอิงจากสารที่ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีน
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
เป็นเรื่องปกติที่จะให้ยา Warfarin ในขนาดเริ่มต้นที่แตกต่างกันกับผู้คนตามเชื้อชาติของพวกเขา หากให้น้อยเกินไปจะเกิดอะไรขึ้น
|
2. ทำให้เลือดออกมากเกินไป |
|
วาร์ฟารินเป็นยาต้านการแข็งตัวของเลือดที่ใช้ป้องกันและควบคุมการเกิดลิ่มเลือด
อุดตันในหลอดเลือด ซึ่งเป็นภาวะเสี่ยงที่พบได้ในประชากรผู้สูงอายุ จึงมีการใช้ยาวาร์ฟารินมาก
ขึ้นในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากพบว่ามีภาวะหัวใจเต้นระริก ซึ่งการใช้ยาวาร์ฟาริน
นั้นสามารถใช้ป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นระริกได้ แต่วาร์ฟาริน
เป็นยาที่มีช่วงการรักษาแคบ ซึ่งวัดจากค่า INR (international normalized ratio) ในผู้สูงอายุ
หากได้ค่าน้อยกว่า 2 มีโอกาสเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือด และหากได้ค่าสูงเกิน 3 อาจ
ทำให้เกิดภาวะเลือดออกผิดปกติ ในผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 65 ปี มีความเสี่ยงต่อการเกิดลิ่ม
เลือดอุดตันในหลอดเลือดได้พอ ๆ กับการเกิดภาวะเลือดออกผิดปกติ ทั้งนี้มีหลายปัจจัยที่มี
ผลต่อการใช้ยาวาร์ฟาริน
|
อ้างอิงจาก366 Rama Nurs J ë September - December 2008366 Rama Nurs J ë September - December 2008
การใช้ยาวาร์ฟารินในผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาและการดูแล
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
การกลายพันธุ์ของยีนใดที่อาจส่งผลต่อระดับ Warfarin
|
5. ไม่มีข้อถูก |
|
VKORC1 และ CYP2c9 gene polymorphisms. VKORC1 จะทำให้ร่างกายไวต่อ warfarin มากขึ้น โอกาสที่ยาจะเกินระดับรักษาและเลือดออกมากขึ้น (กลไกการทำงานของ vitamin K epoxide reductase.
|
อ้างอิงจากวารฟารินและความหลากหลายของลักษณะทางพันธุกรรม
Warfarin and Genetic Polymorphism
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
Drug Concentrations
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by,
C (t) = Co e^(-rt),
จงหาสมการที่เป็นไปได้ หากยา x, มี r =0. 09 แล้วมีความเข้มข้นลดลง 80% จาก the model, C(t) = Co e^(-rt)
|
1. In 0.8 = 0.09t |
|
How to use the C(t) = Co e ^(-rt) formula?
Here is some background information
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient's body. Suppose the concentration of Drug X in a patient's bloodstream is modeled by,
C (t) = C0 e - rt,
where C (t) represents the concentration at time t (in hours), C0 is the concentration of the drug in the blood immediately after injection, and r > 0 is a constant indicating the removal of the drug by the body through metabolism and/or excretion. The rate constant r has units of 1/time (1/hr). It is important to note that this model assumes that the blood concentration of the drug (C0 ) peaks immediately when the drug is injected.
|
SOLUTION: How to use the C(t) = Co e ^(-rt) formula? Here is some background information Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient's body. S
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
Drug Concentrations Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by, C (t) = C0 e^(-rt),
จงหาค่า r ถ้า Initial concentration = 10 mg/L
3 mg/L is shown after 9 hours.
|
1. 0.13 |
|
How to use the C(t) = Co e ^(-rt) formula?
Here is some background information
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient's body. Suppose the concentration of Drug X in a patient's bloodstream is modeled by,
C (t) = C0 e - rt,
where C (t) represents the concentration at time t (in hours), C0 is the concentration of the drug in the blood immediately after injection, and r > 0 is a constant indicating the removal of the drug by the body through metabolism and/or excretion. The rate constant r has units of 1/time (1/hr). It is important to note that this model assumes that the blood concentration of the drug (C0 ) peaks immediately when the drug is injected.
|
SOLUTION: How to use the C(t) = Co e ^(-rt) formula? Here is some background information Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient's body. S
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
Drug Concentrations
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient’s body. Suppose the concentration of Drug X in a patient’s bloodstream is modeled by,
C (t) = C0 e^(-rt),
ถ้า r = 0.041 /hr
Co = 9 mg/L
t = 7
จากสมการจงหาความเข้มข้นของยา ณ เวลาที่ฉีด
|
5. 0.45mg/L |
|
How to use the C(t) = Co e ^(-rt) formula?
Here is some background information
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient's body. Suppose the concentration of Drug X in a patient's bloodstream is modeled by,
C (t) = C0 e - rt,
where C (t) represents the concentration at time t (in hours), C0 is the concentration of the drug in the blood immediately after injection, and r > 0 is a constant indicating the removal of the drug by the body through metabolism and/or excretion. The rate constant r has units of 1/time (1/hr). It is important to note that this model assumes that the blood concentration of the drug (C0 ) peaks immediately when the drug is injected.
|
SOLUTION: How to use the C(t) = Co e ^(-rt) formula? Here is some background information Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient's body. S
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
ข้อใดมีผลต่อ Aβ-dependent tau phosphorylation
|
1. Astrocyte reactivity |
|
We found that Aβ was associated with increased plasma phosphorylated tau only in individuals positive for astrocyte reactivity (Ast+).
|
Nature Medicine volume 29, pages 1775–1781 (2023
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
ความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดของผู้ป่วยหลังจาก t ชั่วโมง จำลองตามสูตร C (t) = 5(0.5)^t โดยที่ C วัดเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร ต้องใช้เวลานานเท่าใดที่ความเข้มข้นจะลดลงถึง 70% ของระดับเริ่มต้น
|
3. 8.1 hr. |
|
How to use the C(t) = Co e ^(-rt) formula?
Here is some background information
Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient's body. Suppose the concentration of Drug X in a patient's bloodstream is modeled by,
C (t) = C0 e - rt,
where C (t) represents the concentration at time t (in hours), C0 is the concentration of the drug in the blood immediately after injection, and r > 0 is a constant indicating the removal of the drug by the body through metabolism and/or excretion. The rate constant r has units of 1/time (1/hr). It is important to note that this model assumes that the blood concentration of the drug (C0 ) peaks immediately when the drug is injected.
|
SOLUTION: How to use the C(t) = Co e ^(-rt) formula? Here is some background information Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient's body. S
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับอันตรกิริยาการจับที่เป็นไปได้ของเอไมด์ทุติยภูมิ
|
3. สามารถมีส่วนร่วมในพันธะไฮโดรเจนได้ทั้งในฐานะผู้ให้พันธะไฮโดรเจนและตัวรับพันธะไฮโดรเจน |
|
โมเลกุลของเอไมด์มีขั้วและเกิดพันธะไฮโดรเจนได้ ทำให้ละลายในน้ำได้ สารละลายของเอไมด์มีสมบัติเป็นกลาง เนื่องจากอะตอมของออกซิเจนในหมู่คาร์บอนิลดึงดูดอิเล็กตรอนจากอะตอมของไนโตรเจนในหมู่แอมิโน เป็นผลทำให้ไนโตรเจนมีสภาพขั้วไฟฟ้าค่อนข้างบวก
เกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสในสารละลายกรด หรือสารละลายเบส ได้กรดคาร์บอกซิลิกและเอมีน
|
อ้างอิงจากAmide / เอไมด์
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
ข้อใดเกี่ยวข้องกับ Plasma measures of GFAP
|
2. CSF levels |
|
Glial Fibrillary Acid Protein (GFAP) เป็นสารเคมีของร่างกายชนิดใหม่ที่เพิ่งได้รับการค้นพบ ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ร่วมกับ Neurofilament Light Chain (NfL) ในการประเมินความรุนแรงและการดำเนินโรคของโรค Multiple Sclerosis แม้ว่าในปัจจุบัน GFAP ยังไม่มีหลักฐานทางการศึกษาที่มากพอที่จะนำมาใช้ในทางคลินิก แต่ก็มีการศึกษาพบว่า GFAP มีความสัมพันธ์กับกระบวนการอักเสบของเส้นประสาทและการฝ่อของสมอง รวมถึงอาจสามารถนำไปศึกษาเพื่อประเมินประสิทธิภาพของยาที่ใช้รักษาโรค Multiple Sclerosis
|
GFAP: ส่วนเติมเต็มให้ NFL กับการประเมินโรค Multiple Sclerosis
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
ความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดของผู้ป่วยหลังจาก t ชั่วโมง จำลองตามสูตร C (t) = 5(8)^t โดยที่ C วัดเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร ความเข้มข้นของยาจะเป็น 80 มิลลิกรัมต่อลิตร ที่กี่ชั่วโมง
|
5. 1.84 |
|
C (t) = C0 e - rt,
where C (t) represents the concentration at time t (in hours), C0 is the concentration of the drug in the blood immediately after injection, and r > 0 is a constant indicating the removal of the drug by the body through metabolism and/or excretion. The rate constant r has units of 1/time (1/hr). It is important to note that this model assumes that the blood concentration of the drug (C0 ) peaks immediately when the drug is injected.
|
SOLUTION: How to use the C(t) = Co e ^(-rt) formula? Here is some background information Exponential functions can be used to model the concentration of a drug in a patient's body. S
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
การจับยากับตำแหน่งจับของโปรตีน Disulfide bond ไม่เกี่ยวข้องกับโรคใด
|
3. Stoke |
|
โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) คือ ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อในสมองถูกทำลาย การทำงานของสมองหยุดชะงัก ความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง ความผิดปกติของหลอดเลือดสมองที่ทำให้สมองขาดเลือด
|
โรคหลอดเลือดสมอง - แตก ตีบ ตัน ฉีกขาด | โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|