1 |
What is the primary focus of the paper?
|
Case investigation and contact tracing for COVID-19 |
|
เพราะในงานวิจัยจะมุ่งเน้นในทางด้านการตรวจสอบข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับผู้เข้าร่วมทดสอบที่เคยติดเชื้อCovid-19หรือกำลังติดเชื้อCovid-19 ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านอายุ เพศ เชื้อชาติ ระดับการศึกษา และสภาพการเมื่องของแต่ละบุคคล รวมถึงความคิดเกี่ยวกับแง่มุมต่างๆเช่นนโยบายของรัฐบาล สวัสดิการต่างๆเป็นต้น เพื่อค้นหาแนวพฤกติกรรมในการดำเนินชีวิตของผู้ที่เคยติดเชื้อCovid-19และนำไปสู่การประมาณการการแก้ไขปัญหาการระบาดของCovid-19
|
อ้างอิงจากวารสาร Experiences with COVID-19 case investigation and contact tracing: A qualitative analysis
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
What is the purpose of case investigation in the context of COVID-19?
|
|
|
เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการระบาดของCovid-19จากการแพร่เชื้อของมนุษย์เอง จากการที่มนุษย์มีพฤกติกรรมในการดำเนินชีวิตอย่างไรสู่การแพร่เชื้อของCovid-19อย่างไร อีกทั้งยังให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วยCovid-19อีกด้วย
|
อ้างอิงจากวารสาร Experiences with COVID-19 case investigation and contact tracing: A qualitative analysis
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
What is contact tracing, as defined in the paper?
|
Notifying close contacts of potential exposure |
|
|
อ้างอิงจากวารสาร Experiences with COVID-19 case investigation and contact tracing: A qualitative analysis
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
Why did health departments face challenges during the COVID-19 pandemic?
|
Overwhelming testing availability |
|
|
อ้างอิงจากวารสาร Experiences with COVID-19 case investigation and contact tracing: A qualitative analysis
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
Essay | Examine the variations in individuals' experiences with CI/CT for COVID-19 based on demographic characteristics. How do factors such as age, race, ethnicity, income, and political ideology influence these experiences?
|
ปัจจัยต่างๆของแต่ละบุคคลนั้นอาจจะส่งผลต่อการติดเชื้อCovid-19หรือไม่ก็ได้ |
|
ปัจจัยส่วนใหญ่ที่ส่งผลต่อการติดเชื้อของผู้คนอย่างเห็นได้ชัดคือ อายุ การศึกษาและอุดมการทางการเมืองรวมถึงการติดต่อสอบถามผู้เชี่ยวชาญด้วย โดยอายุนั้นเกี่ยวกับพฤกติกรรมการปฏิบัติตนของแต่ละช่วงวัย โดยจะสังเกตุอย่างเห็นได้ชัดว่าอายุที่มีการติเชื้อมากที่สุดคือ40-59ปี ซึ่งเป็นวัยทำงานและมีกิจกรรมที่ต้องทำนอกสถานที่เยอะทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ต่อมาคือการศึกษาโดยจะคล้ายกับอายุ นั้นก็คือพฤกติกรรมของแต่ละช่วงการศึกษาเช่นในวัยมัธยมหรือประถมเยาวชนส่วนใหญ่แค่เรียนหนังสือและกลับบ้าน ไม่ค่อยทำกิจกรรมนอกศถานที่ทำให้มีความเสี่ยงน้อยซึ่งต่างกับระดับปริญญาอย่างเห็นได้ชัด ต่อมาคืออุดมการทางการเมือง จะสังเกตุว่าการเมืองแบบอนุรักษ์นิยมมีผู้ติดเชื้อมากที่สุด ในที่นี้เนื่องจากแนวความเชื่อของประชากรที่ต่อต้านการแจ้งเตือนของสาธารณะสุขและยังคงปฏิบัติวิถีชีวิตแบบเดิมเช่น ไม่สวมหน้ากากอนามัย ไม่เว้นระยะห่างกับบุคคล เมื่อติดเชื้อแล้วไม่กักตัวเป็นต้น ส่วนในเรื่องเพศนั้นไม่เกี่ยวข้องต่อโอกาสติดเชื้อCovid-19
|
อ้างอิงจากวารสาร Experiences with COVID-19 case investigation and contact tracing: A qualitative analysis
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
What is the primary concern raised by the authors regarding the state of knowledge in African urban ecology?
|
Inadequate focus on community ecology |
|
มีงานวิจัยจำนวนน้อยและขาดความรู้เกี่ยวกับนิเวศวิทยาในเมืองของแอฟริกา
|
วารสาร Status of urban ecology in Africa: A systematic review
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
What significant predictors did the study investigate regarding the number of publications on African urban ecology?
|
Conservation status and size of ecoregions |
|
|
วารสาร Status of urban ecology in Africa: A systematic review
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
In terms of research scale, where were the majority of the studies conducted according to the study?
|
Continental level |
|
วิเคราะห์สถานะปัจจุบันของความพยายามวิจัยเกี่ยวกับนิเวศวิทยาในทวีปนี้
|
วารสาร Status of urban ecology in Africa: A systematic review
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
What methodological approach did the authors use to conduct the literature search in this study?
|
Systematic literature review |
|
In the present study, we conducted a systematic literature review to determine trends in urban ecological research conducted in Africa. Relative to other regions such as Asia, Europe and North America
|
อ้างอิงจากวารสาร Status of urban ecology in Africa: A systematic review
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
Essay | Examine the key factors contributing to the lack of knowledge and research gaps in African urban ecology, as highlighted in the literature review. Discuss the potential implications of this knowledge gap and propose strategies to address and advance research in this field.
|
ปัจจัยที่ทำให้ขาดความรู้คือการวิจัยที่น้อย และทำให้เกิดการไม่ตระหนักรู้กับระบบนิเวศน์ ทำให้ระบบนิเวศลดน้อยลง ดังนั้นจึงควรมีการวิจัยเพิ่มมากขึ้น |
|
ปัจจัยที่ทำให้ขาดความรู้คือการวิจัยที่น้อยเนื่องจากไม่มีความสนใจในด้านนิเวศวิทยาเพราะเป็นทวีปที่อุดมสมบูรณ์ไม่ขาดทรัพยากรณ์จึงไม่มีความกังวลและความกระตือรือร้นที่จะวิจัย ทำให้หน่วยงานต่างๆ รัฐบาลและประชาชนยังไม่ตระหนักถึงการอนุรักษ์ระบบนิเวศน์ ส่งผลให้ระบบนิเสศน์ลดน้อยลดจากการขยายตัวของเมือง การบุรุกป่า ดังนั้นจึงควรมีการวิจัยเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้รัฐบาลและประชาชนตระหนักรู้ถึงความสำคัญของระบบนิเวศน์ และรัฐบาลของประเทศต่างๆในทวีปแอฟริกาก็ควรส่งเสริมการวิจัยแนวนี้
|
อ้างอิงจากวารสาร Status of urban ecology in Africa: A systematic review
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
According to the literature search, what are the four key formulations through which acceptability has been defined or conceptualized?
|
User affective attitude, behavioral intention, actual system usage behavior, satisfaction following system usage |
|
The literature has converged towards three overarching categories of factors underpinning AI acceptability including: user factors involving trust, system understanding, AI literacy, and technology receptiveness; system usage factors entailing value proposition, self-efficacy, burden, and workflow integration; and socio-organisational-cultural factors encompassing social influence
|
อ้างอิงจากวารสาร Understanding the factors influencing acceptability of AI in medical imaging domains among healthcare professionals: A scoping review
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
Which academic databases were included in the search strategy for the scoping review on the acceptability of AI in medical imaging domains?
|
Medline, Cochrane Library, Web of Science, Compendex, Scopus |
|
An extensive search strategy was formulated in consultation with a research librarian for five academic databases including Medline, Cochrane Library, Web of Science, Compendex, and Scopus
|
อ้างอิงจากวารสาร Understanding the factors influencing acceptability of AI in medical imaging domains among healthcare professionals: A scoping review
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
What were the criteria for inclusion and exclusion of publications in the scoping review?
|
Publications were limited to journal articles, conference proceedings, and dissertations in English, and studies not explicitly linked to end-user acceptability were excluded. |
|
Publications were limited to journal articles, conference proceedings, and dissertations in English. Studies were only included if they were a primary study reporting on the acceptability of AI among medical professionals in healthcare imaging domains and the factors influencing it. Those which investigated acceptability at the broader organisational level or using a multi-stakeholder approach were included as long as they explicitly accounted for the end user perspective. No restriction was placed on the temporality of the study design being prospective or retrospective.
|
อ้างอิงจากวารสาร Understanding the factors influencing acceptability of AI in medical imaging domains among healthcare professionals: A scoping review
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
How many studies were included in the scoping review, and which aspect of AI acceptability did the majority of these studies focus on?
|
31 studies; retrospective analysis |
|
The identified factors can further be grouped into broad, overarching categories based on commonalities in what they are measuring. These include: user factors (individual end user characteristics) involving trust, system understanding, AI literacy, technology receptiveness; system usage factors (human-computer interaction and user experience concerns) entailing value proposition, self-efficacy, burden, and workflow integration; and socio-organisational-cultural factors (contextual and environmental matters) encompassing social influence, organisational readiness, ethicality, and perceived threat. The distribution of how these conditions were examined across 31 studies
|
อ้างอิงจากวารสาร Understanding the factors influencing acceptability of AI in medical imaging domains among healthcare professionals: A scoping review
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
Essay | Explain the concept of acceptability in the context of AI in medical imaging. Outline the key dimensions through which acceptability has been conceptualized in past studies and why a scoping review considered multiple formulations. Additionally, discuss the importance of considering end-user perspectives in the evaluation of AI acceptability.
|
ในทางการแพทย์บุคลากรยังไม่ค่อยมีการยอมรับAI เนื่องจากยังไม่มีความไว้วางใจต่อAI |
|
ในทางการแพทย์บุคลากรยังไม่ค่อยมีการยอมรับAI เนื่องจากยังไม่มีความไว้วางใจต่อAIแม้จะมีความสนใจอย่างมากเนื่องจากยังไม่มีการวิจัยและทดสอบที่เพียงพอ ซึ่งในอดีตมีสาเหตุมาจากความขัดต่อผลประโยชน์ทางการแพทย์และโรงพยาบาล อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นอย่างกะทันหันของเอกสารเมื่อเร็วๆ นี้บ่งชี้ว่าความสนใจในการใช้งาน AI ในอุตสาหกรรมการถ่ายภาพด้านการดูแลสุขภาพกำลังได้รับแรงผลักดันอย่างรวดเร็ว เนื่องจากระดับประสิทธิภาพทางเทคนิคมีความเหมาะสมมากขึ้นสำหรับการใช้งานทางการแพทย์ นักวิจัยควรหลีกเลี่ยงมุมมองที่จำกัดที่เกี่ยวข้องกับแนวทางเฉพาะ หรือใช้กรอบทางทฤษฎีเพียงกรอบเดียวเพื่อแจ้งการออกแบบการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับAI โดยทั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการยอมรับของAIมาจากอิทธิพลของการวิจัยอย่างหลากหลาย ดังนั้นนักวิจัยและองค์กรต่างๆจึงควรคำนึงถึงการวิจัยอย่างครอบคลุมและหลากหลายในการวิจัย เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือ และความเชื่อใจต่อบุคลากรทางการแพทย์ต่อAI
|
อ้างอิงจากวารสาร Understanding the factors influencing acceptability of AI in medical imaging domains among healthcare professionals: A scoping review
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
What is workplace violence (WPV) in healthcare?
|
Threats and abuse against healthcare workers |
|
ความรุนแรงในการทำงานคือการใช้ความรุนแรงต่อร่างกายหรือจิตใจ ไม่ว่าจะเป็นระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ด้วยกัน หรือ ระหว่างบุคลากรกับผู้ป่วย
|
อ้างอิงจากวารสาร Workplace violence in medical radiation science: A systematic review (PubMed)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
According to the World Health Organization (WHO), what is the impact of WPV on healthcare workers?
|
Range from unnoticeable effects to fatality |
|
การใช้ความรุนแรงในสถานพยาบาลต่อบุคลากรทางการแพทย์ทำให้เกิดความเสียหายอย่างแน่นอน แต่อาจจะมีระดับความรุนแรงแปรผันกันไปตามสถานการณ์ โดยอาจจะส่งผลต่อจิตใจและร่างกาย โดยเฉพาะจิตใจที่เพิ่มความเครียดในการทำงานและอาจนำไปสู่การจบชีวิตได้
|
อ้างอิงจากวารสาร Violence and harassment (WHO)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
Why is there a need for a systematic review on WPV in medical radiation science (MRS)?
|
Lack of understanding about WPV prevalence and risk factors in MRS |
|
เพราะการใช้ความรุนแรงและการคุกคามส่งผลกระทบต่อกลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพและสภาพแวดล้อมการทำงานในภาคสาธารณสุขทั้งหมด ถือเป็นประเด็นสำคัญในการดูแลสุขภาพที่ต้องใด้รับการแก้ไขและทบทวนอย่างเร่งด่วน
|
อ้างอิงจากวารสาร Violence and harassment (WHO)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
What databases were used for the literature search in the systematic review on WPV in MRS?
|
EBSCOhost/CINAHL, PubMed/Medline, ScienceDirect, Scopus, and Wiley Online Library |
|
Electronic scholarly publication databases, namely EBSCOhost/Cumulative Index of Nursing and Allied Health Literature Ultimate, PubMed/Medline, ScienceDirect, Scopus, and Wiley Online Library were used for literature search to identify articles about WPV in MRS published over last 10 years
|
อ้างอิงจากวารสาร Workplace violence in medical radiation science: A systematic review (PubMed)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
Essay | Workplace Violence (WPV) in Healthcare. Please explain the impacts and research gaps.
|
เพราะความรุนแรงและการคุกคามส่งผลกระทบต่อผู้ปฏิบัติงานสาธารณสุขและอาจส่งผลกระทบต่อโครงสร้างองค์กรและประเทศได้ |
|
เพราะความรุนแรงและการคุกคามส่งผลกระทบต่อผู้ปฏิบัติงานสาธารณสุขทั้งในด้านจิตใจและร่างกาย ส่งผลให้ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานลดลงส่งผลต่อคุณภาพงานทั้งหมด และอาจส่งผลกระทบต่อโครงสร้างองค์กรและประเทศไดยรวมได้
|
อ้างอิงจากวารสาร Workplace violence in medical radiation science: A systematic review (PubMed)
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|