1 |
ข้อใดต่อไปนี้อธิบายแนวคิด การรับรู้จังหวะ (Beat Perception) ได้ดีที่สุดเนื่องจากเกี่ยวข้องกับความสามารถในการได้ยินของทารกแรกเกิด
|
การแยกจังหวะที่สม่ำเสมอจากลำดับเสียง |
|
เพราะมีการทดลองโดยใช้ Electroencephalography (คลื่นไฟฟ้าสมอง) ในทารกที่กำลังนอนหลับ โดยใช้จังหวะที่แตกต่างกัน แล้วพบว่ามีการตอบสนองที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงจังหวะ หมายความว่า ทารกสามารถแยก/ตรวจจับจังหวะที่สม่ำเสมอจากลำดับเสียง ได้
|
อิงจากการทดลองคลื่นไฟฟ้าสมอง ในจังหวะที่แตกต่างกัน ในงานวิจัย (Beat processing in newborn infants cannot be explained by statistical learning based on transition probabilities)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
จากการวิจัย ทารกแรกเกิดใช้วิธีทดลองตามข้อใดในการแยกแยะการรับรู้จังหวะจากการเรียนรู้ทางสถิติในทารกแรกเกิด
|
การติดตามการทำงานของสมองโดยใช้ EEG ในระหว่างการกระตุ้นการได้ยิน |
|
งานวิจัยนี้เสนอว่า beat perception ในทารกแรกเกิด เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และ ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยการเรียนรู้ทางสถิติ แต่เพียงอย่างเดียว ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ว่าการรับรู้จังหวะอาจเป็นความสามารถทางชีววิทยาที่มีมาแต่เกิด
|
อ้างอิงจาก ทฤษฎี Neural Entrainment (สมองมีคลื่นไฟฟ้าที่สามารถประสานกันกับจังหวะภายนอก ทำให้มนุษย์สามารถคาดการณ์และตอบสนองต่อจังหวะได้ แม้ไม่ต้องอาศัยการเรียนรู้ทางสถิติ)
จากบทความ (Beat processing in newborn infants cannot be explained by statistical learning based on transition probabilities)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
การตอบสนองที่ไม่ตรงกัน (MMR) ในการศึกษา EEG บ่งชี้อะไรเกี่ยวกับการประมวลผลการได้ยินของทารกแรกเกิด
|
ความยากในการแยกแยะระหว่างความถี่เสียงต่างๆ |
|
ทารกแสดง MMR ที่แตกต่างกันระหว่างจังหวะสม่ำเสมอ และจังหวะแบบสุ่ม ซึ่ง MMR ที่เด่นชัดในจังหวะสม่ำเสมอ บ่งชี้ว่าทารกสามารถตรวจจับจังหวะ ได้ตั้งแต่แรกเกิด โดยไม่ต้องอาศัยการเรียนรู้ทางสถิติ
|
จากงานวิจัย (Haden et al., 2024)
-ทารกแสดง MMR ที่แตกต่างกันระหว่างจังหวะสม่ำเสมอ (isochronous) และจังหวะแปรปรวน (jittered)
-MMR ที่เด่นชัดในจังหวะสม่ำเสมอ บ่งชี้ว่าทารกสามารถตรวจจับจังหวะ (beat perception) ได้ตั้งแต่แรกเกิด โดยไม่ต้องอาศัยการเรียนรู้ทางสถิติ
จากบทความ (Beat processing in newborn infants cannot be explained by statistical learning based on transition probabilities)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
คำว่า "การเรียนรู้ทางสถิติ (Statistical Learning)" หมายถึงอะไรในบริบทของการประมวลผลการได้ยินในทารกแรกเกิด?
|
การแยกความสม่ำเสมอออกจากลำดับของเสียงโดยไม่มีการตอบรับที่ชัดเจน |
|
การเรียนรู้ทางสถิติในทารกแรกเกิด หมายถึงความสามารถในการตรวจจับรูปแบบทางสถิติของเสียง โดยไม่ต้องได้รับการสอน เช่น การแยกแยะลำดับเสียงที่เกิดขึ้นบ่อยจากเสียงที่เกิดขึ้นแบบสุ่ม หรือจังหวะที่แตกต่างกัน
|
Saffran พบว่า ทารกสามารถใช้ความน่าจะเป็นของการเกิดขึ้นร่วมกันของหน่วยเสียงเพื่อแยกแยะรูปแบบทางภาษาได้ ซึ่งเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ทางสถิติ
จากบทความ (Beat processing in newborn infants cannot be explained by statistical learning based on transition probabilities)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
สภาวะใดในการศึกษา EEG ไม่ได้ส่งผลให้เกิดความแตกต่างระหว่างการตอบสนองแบบจังหวะและการตอบสนองที่ผิดปกติในทารกแรกเกิด
|
สภาพความเงียบ |
|
EEG คือวัดการตอบสนองของสมองต่อสิ่งเร้าทางเสียง ดังนั้น ในสภาวะความเงียบจะไม่มีสิ่งเร้าทางเสียง จึงไม่สามารถกระตุ้นให้เกิดความแตกต่างของการตอบสนองแบบจังหวะและการตอบสนองที่ผิดปกติได้
|
งานวิจัยเกี่ยวกับ Mismatch Response ในทารก แสดงให้เห็นว่า EEG ต้องอาศัยสิ่งเร้าทางเสียง เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเรียนรู้จังหวะและการคาดการณ์ของสมอง
จากบทความ (Beat processing in newborn infants cannot be explained by statistical learning based on transition probabilities)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
กลไกทางประสาทใดที่คิดว่ารองรับการเคลื่อนไหวให้ตรงกันกับจังหวะ
|
การขึ้นรถไฟประสาท |
|
การขึ้นรถไฟประสาทคือการที่สมองจะปรับตัวตามสิ่งเร้าภายนอกต่างๆ ดังนั้นการเคลื่อนไหวให้ตรงกันกับจังหวะ ก็จะต้องพึ่งพากลไกนี้
|
จากบทความ (Beat processing in newborn infants cannot be explained by statistical learning based on transition probabilities) และ
ทฤษฏีดนตรี ที่อธิบายว่าทำไมเราสามารถเคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะดนตรีได้
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
การรับรู้จังหวะในทารกแรกเกิดสัมพันธ์กับความสามารถทางดนตรีในภายหลังอย่างไร
|
เป็นพื้นฐานในการพัฒนาการประสานงานจังหวะและเวลา |
|
ความสามารถในการรับรู้และแยกแยะจังหวะ เป็นทักษะพื้นฐานทางดนตรี ดังนั้นการประสานงาน จังหวะและเวลา เป็นองค์ประกอบสำคัญของความสามารถทางดนตรี ไม่ว่าจะเป็นการเล่นดนตรี ร้องเพลง หรือเต้นรำ ซึ่ง การรับรู้จังหวะในช่วงแรกเกิดเป็นฐานสำคัญในการพัฒนาทักษะทางดนตรีในภายหลัง
|
งานวิจัยแสดงให้เห็นว่าทารกที่สามารถรับรู้จังหวะได้ดี มีแนวโน้มที่จะพัฒนาทักษะทางดนตรีที่ดีขึ้นในอนาคต และ
ทฤษฎีพัฒนาการดนตรี ว่าด้วยการรับรู้จังหวะเป็นหนึ่งในขั้นตอนแรกของพัฒนาการดนตรี
จากบทความ (Beat processing in newborn infants cannot be explained by statistical learning based on transition probabilities)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
ภาวะที่ไม่ต่อเนื่องในการศึกษาทางการได้ยินมักเกี่ยวข้องกับอะไร?
|
ช่วงเวลาสุ่มระหว่างเสียง |
|
การรับรู้จังหวะ เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้เสียงพูดและดนตรีในทารก ซึ่งทารกสามารถตรวจจับรูปแบบจังหวะ และความต่อเนื่องของเสียงได้ตั้งแต่อายุไม่กี่วัน
รู้จากการศึกษาด้วย EEG และ MMR เห็นว่าทารกสามารถแยกแยะความแตกต่างของลำดับเสียงที่เป็นจังหวะและไม่เป็นจังหวะได้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาสุ่มระหว่างเสียง
|
การรับรู้จังหวะขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของเวลา ไม่ใช่ความถี่เสียง
จากบทความ (Beat processing in newborn infants cannot be explained by statistical learning based on transition probabilities)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
จุดประสงค์หลักของการใช้ EEG ในการศึกษาการประมวลผลการได้ยินในทารกแรกเกิดคืออะไร
|
บันทึกการตอบสนองของสมองต่อเสียง |
|
EEG (Electroencephalography) ใช้ตรวจวัดคลื่นสมองเพื่อติดตามการตอบสนองของระบบประสาทต่อสิ่งเร้า เช่น เสียง ดนตรี
ซึ่งในทารกแรกเกิด EEG ถูกนำมาใช้เพื่อศึกษาและบันทึก "การประมวลผลเสียง" และพฤติกรรมการรับรู้ทางประสาทสัมผัส
|
EEG เป็นเครื่องมือสำคัญในการศึกษาประสาทวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการศึกษาการทำงานของสมอง จากส่วนต้นๆ ของบทความ (Beat processing in newborn infants cannot be explained by statistical learning based on transition probabilities)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
คุณลักษณะการได้ยินใดที่ไม่ได้รับการศึกษาโดยตรงในการวิจัยการประมวลผลการได้ยินของทารกแรกเกิด
|
ความเข้าใจภาษา |
|
จากบทความเป็นการศึกษาการตอบสนองต่อจังหวะ และสิ่งเร้าภายนอก ซึ่งไม่เกี่ยวกับความเข้าใจภาษา และเป็นการศึกษาการประมวลผลการได้ยินในทารกแรกเกิดไม่ได้ศึกษาความเข้าใจภาษาโดยตรง เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนเกินกว่าความสามารถของทารกแรกเกิด
|
ทฤษฎีพัฒนาการภาษาชี้ให้เห็นว่าความเข้าใจภาษาต้องอาศัยการพัฒนาในหลายด้าน เช่น การรับรู้เสียง การสร้างคำศัพท์ และไวยากรณ์
และ จากบทความ (Beat processing in newborn infants cannot be explained by statistical learning based on transition probabilities)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
คำใดที่ใช้อธิบายลักษณะที่ปรากฏของความน่าเชื่อถือทางวิทยาศาสตร์ซึ่งใช้ในการตลาดการบำบัดด้วยเซลล์ที่ไม่ได้รับการพิสูจน์
|
สัญลักษณ์แห่งความชอบธรรมทางวิทยาศาสตร์ |
|
สัญลักษณ์แห่งความชอบธรรมทางวิทยาศาสตร์ ไม่ใช่วิธีที่น่าเชื่อถือและได้รับการพิจารณา ยอมรับ
|
ในจริยธรรมการแพทย์ การใช้สัญลักษณ์แห่งความชอบธรรมทางวิทยาศาสตร์ไม่เป็นการรับรองที่น่าเชื่อถือ ซึ่งเข้าข่ายการหลอกลวง
จากบทความ (International Society for Cell & Gene Therapy Position Paper: Key considerations to support evidence-based cell and gene therapies and oppose marketing of unproven products)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
จากบทความ ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่กลไกการรายงานที่ได้รับการยอมรับสำหรับผลข้างเคียงจากการบำบัดด้วยเซลล์และยีน
|
ClinicalTrials.gov |
|
ClinicalTrials.Gov เป็นฐานข้อมูลสำหรับการลงทะเบียนการทดลองทางคลินิกเท่านั้น
|
การรายงานผลข้างเคียง สำคัญมากๆในการตรวจสอบความปลอดภัยของการบำบัดด้วยเซลล์และยีน
จากบทความ (International Society for Cell & Gene Therapy Position Paper: Key considerations to support evidence-based cell and gene therapies and oppose marketing of unproven products)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
การพิจารณาด้านจริยธรรมประการใดที่ถูกท้าทายโดยการตลาดโดยตรงสู่ผู้บริโภคสำหรับการบำบัดด้วยเซลล์และยีนที่ไม่ได้รับการพิสูจน์
|
กระบวนการแจ้งความยินยอม |
|
กระบวนการแจ้งความยินยอม เป็นการที่ผู้ป่วยจะแจ้งความประสงค์ ผู้ป่วยจะได้รับข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้องเกี่ยวกับการบำบัด เพื่อให้สามารถตัดสินใจได้
|
พื้นฐานกฏหมายและจริยธรรมการแพทย์ ความเคารพในบุคคล ความเป็นธรรม และ ความมีเมตตา กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาและการคุ้มครองผู้บริโภค
จากบทความ (International Society for Cell & Gene Therapy Position Paper: Key considerations to support evidence-based cell and gene therapies and oppose marketing of unproven products)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
คุณลักษณะหลักใดที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ CGT ที่ได้รับการพิสูจน์แล้วแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่ผ่านการพิสูจน์ตามมาตรฐานกฎระเบียบ
|
การอนุญาตก่อนการตลาดโดยหน่วยงานกำกับดูแล |
|
จะต้อง ผ่านการทดสอบทางคลินิกอย่างเข้มงวดเพื่อยืนยันความปลอดภัยและประสิทธิภาพ และได้รับการอนุมัติจากหน่วยงานกำกับดูแล
|
จริยธรรมการแพทย์: การให้ข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้องเกี่ยวกับความเสี่ยงของการบำบัด สอดคล้องกับหลักการ Respect for Persons และ Justice ในจริยธรรมการแพทย์
จากบทความ (International Society for Cell & Gene Therapy Position Paper: Key considerations to support evidence-based cell and gene therapies and oppose marketing of unproven products)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
ข้อใดต่อไปนี้เป็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ CGT ที่ไม่ได้รับการพิสูจน์ซึ่งเน้นไว้ในบทความ
|
ศักยภาพของความเสี่ยงด้านสุขภาพที่ร้ายแรง |
|
CGT ที่ไม่ได้รับการพิสูจน์ ยังไม่ได้รับการประเมินความปลอดภัยและประสิทธิภาพอย่างเพียงพอ อาจมีความเสี่ยงต่อสุขภาพที่ร้ายแรง
|
จริยธรรมการแพทย์: การให้ข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้องเกี่ยวกับความเสี่ยงของการบำบัด สอดคล้องกับหลักการ Respect for Persons และ Justice ในจริยธรรมการแพทย์
จากบทความ (International Society for Cell & Gene Therapy Position Paper: Key considerations to support evidence-based cell and gene therapies and oppose marketing of unproven products)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ลักษณะทั่วไปของผลิตภัณฑ์ CGT ที่ไม่ได้รับการพิสูจน์ตามที่กล่าวไว้ในบทความ
|
การอนุมัติจากหน่วยงานกำกับดูแลที่สำคัญ |
|
CGT ที่ไม่ได้รับการพิสูจน์ จะไม่มีการอนุมัติจากหน่วยงานกำกับดูแลที่สำคัญ เพราะอาจจะอาจมีคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ที่คลุมเครือหรือไม่น่าเชื่อถือ หรือ อาจมีข้อมูลการทดสอบในสัตว์ทดลองหรือในห้องปฏิบัติการไม่เพียงพอ
|
จริยธรรมการแพทย์: การให้ข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้องเกี่ยวกับความเสี่ยงของการบำบัด สอดคล้องกับหลักการ Respect for Persons และ Justice ในจริยธรรมการแพทย์
จากบทความ (International Society for Cell & Gene Therapy Position Paper: Key considerations to support evidence-based cell and gene therapies and oppose marketing of unproven products)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
หน่วยงานกำกับดูแลเช่น FDA และ EMA จะรับรองความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ CGT ได้อย่างไร
|
โดยต้องมีการทดลองทางคลินิกก่อนการตลาดอย่างเข้มงวด |
|
การทดลองทางคลินิกก่อนการตลาด จำเป็นมากๆ เพราะแสดงถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ CGT ก่อนที่จะได้รับอนุญาตให้วางตลาด
|
จริยธรรมการแพทย์: การให้ข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้องเกี่ยวกับความเสี่ยงของการบำบัด สอดคล้องกับหลักการ Respect for Persons และ Justice ในจริยธรรมการแพทย์
จากบทความ (International Society for Cell & Gene Therapy Position Paper: Key considerations to support evidence-based cell and gene therapies and oppose marketing of unproven products)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
เป้าหมายหลักของ ISCT ในด้านการบำบัดด้วยเซลล์และยีนตามที่กล่าวไว้ในบทความคืออะไร
|
เพื่อสนับสนุนผลิตภัณฑ์ที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์และต่อต้านผลิตภัณฑ์ที่ไม่ผ่านการพิสูจน์ |
|
ISCT เน้นมาตรฐานทางวิทยาศาสตร์และหลักฐานเชิงประจักษ์ ในการบำบัดด้วยเซลล์และยีน จึงต้องเลือกตัวเลือกที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนแนวทางที่ผ่านการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์
|
ISCT มีนโยบายต่อต้าน "Unproven Cellular Therapies" หรือการรักษาที่ไม่ได้รับการพิสูจน์ เนื่องจากอาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วย
ISCT ไม่ได้สนับสนุนทุกประเภทของการบำบัดเซลล์และยีน แต่จะให้การสนับสนุนเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ชัดเจนและต่อต้านผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีการพิสูจน์ ซึ่งสอดคล้องกับหลักจริยธรรมทางการแพทย์และแนวทางขององค์กรกำกับดูแลทั่วโลก
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
อะไรคือผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นสำหรับผู้ป่วยที่ใช้ผลิตภัณฑ์ CGT ที่ไม่ได้รับการพิสูจน์?
|
ความเสี่ยงต่อผลกระทบร้ายแรง |
|
CGT ที่ไม่ได้รับการพิสูจน์ แน่นอนว่าไม่มีความปบอดภัยดังนั้นมีความเสี่ยงต่อผลกระทบร้ายแรง
|
CGT ที่ไม่ได้รับการพิสูจน์ มีความเสี่ยงสูงและอาจก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อผู้ป่วย เนื่องจากไม่มีข้อมูลยืนยันเรื่อง ความปลอดภัยและประสิทธิภาพ การใช้ CGT ที่ไม่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานทางการแพทย์ อาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายและส่งผลเสียต่อสุขภาพของผู้ป่วยในระยะยาว
จากบทความ (International Society for Cell & Gene Therapy Position Paper: Key considerations to support evidence-based cell and gene therapies and oppose marketing of unproven products)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
ISCT มีบทบาทอย่างไรในบริบทของการบำบัดเซลล์และยีน
|
ต่อต้านการค้าขายก่อนกำหนดของการรักษาที่ไม่ได้รับการพิสูจน์ |
|
ISCT ไม่ได้เป็นหน่วยงานที่ให้เงินทุนวิจัยหรือจำหน่ายผลิตภัณฑ์ CGT โดยตรง แต่มีบทบาทสำคัญในการ ควบคุมและต่อต้านการขายผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ เพื่อให้การบำบัดด้วยเซลล์และยีนเป็นไปตามมาตรฐานทางวิทยาศาสตร์และจริยธรรม
|
แนวคิดนี้สอดคล้องกับหลักจริยธรรมทางการแพทย์และกฎระเบียบจากองค์กรกำกับดูแล เช่น FDAและ EMA ที่ให้ความสำคัญกับความปลอดภัยและประสิทธิภาพของการรักษาก่อนนำมาใช้ทางคลินิก
จากบทความ (International Society for Cell & Gene Therapy Position Paper: Key considerations to support evidence-based cell and gene therapies and oppose marketing of unproven products)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|