1 |
|
3. P |
|
ท่อง A-Z
|
-
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
|
4. EBMQ |
|
-
|
-
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
|
|
|
68.26 เปอร์เซนต์ สังเกตจากกราฟ จากโจทย์กำหนดอัตราการเต้นของชีพจรเฉลี่ย 77 ครั้งต่อนาที และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 12 ครั้งต่อนาที หมายความว่าช่วง 65-89 ครั้งต่อนาทีอยู่ในกราฟ 2 ส่วนที่มีประชาการมากที่สุด นั่นคือ 34.13+34.13 = 68.26 เปอร์เซนต์
|
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: SD) คือเครื่องมือในการวัดการ กระจายของข้อมูลที่นิยมนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย และเป็นปัจจัยสำคัญในกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลและการทำวิจัย เพื่อให้ทราบถึงลักษณะข้อมูลค่าเฉลี่ยที่ได้รับว่ามีคุณภาพที่เหมาะสมกับสถานการณ์หรือไม่ กล่าวกันอย่างง่ายคือ หากค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าการกระจายตัวน้อย แสดงว่าข้อมูลในค่าเฉลี่ยนั้นใกล้เคียงกัน ในทางตรงกันข้าม หากค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าการกระจายตัวมาก แสดงว่าข้อมูลในค่าเฉลี่ยแตกต่างกันมาก ซึ่งอาจจะส่งผลให้ผลลัพธ์ของการวิจัยคลาดเคลื่อนได้
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
|
|
|
47,720 คน คำนวณจากช่วง ค่าเฉลี่ย-2(ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) และ ค่าเฉลี่ย+2(ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) นั่นก็คือช่วง 53-101 ครั้งต่อนาที จะได้ว่ามี 13.59+13.59+34.13+34.13 = 95.44 เปอร์เซนต์ จะได้ประชากร (95.44/100)*50000 = 47720 คน
|
หลักการสังเกตกราฟ,ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: SD) คือเครื่องมือในการวัดการ กระจายของข้อมูลที่นิยมนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย และเป็นปัจจัยสำคัญในกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลและการทำวิจัย เพื่อให้ทราบถึงลักษณะข้อมูลค่าเฉลี่ยที่ได้รับว่ามีคุณภาพที่เหมาะสมกับสถานการณ์หรือไม่ กล่าวกันอย่างง่ายคือ หากค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าการกระจายตัวน้อย แสดงว่าข้อมูลในค่าเฉลี่ยนั้นใกล้เคียงกัน ในทางตรงกันข้าม หากค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าการกระจายตัวมาก แสดงว่าข้อมูลในค่าเฉลี่ยแตกต่างกันมาก ซึ่งอาจจะส่งผลให้ผลลัพธ์ของการวิจัยคลาดเคลื่อนได้
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
จงหาว่ารูปที่อยู่ถัดไป คือรูปในข้อใด
|
 |
|
โจทย์มีปัญหา ตัวเลือกเป็นแบบเดียวกัยทุกข้อ
|
-
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
จากรูปที่กำหนดให้ รูปที่หายไปคือรูปในข้อใด
|
 |
|
(โจทย์มีปัญหา ขึ้นตัวเลือกเหมือนกันทุกข้อ) ตอบข้อนี้เพราะว่า เมื่อพิจารณารูปแต่ละรูปเกิดจากรูปสองรูด้านล่างรวมกัน โดยถ้าส่วนไหนซ้ำกันจะหายไป ส่วนไหนที่ต่างกันจะกลายเป็นวงกลมสีขาว และส่วนไหนที่ไม่มีคู่ให้คงรูปนั้นไว้ ดังนั้นเมื่อนำรูปที่ 2มาเติม จึงเป็นไปตามเงื่อนไขที่พิจารณา
|
หลักการพิจารณาการรวมกันของรูป 2 รูป
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
ความเร็วของขบวนรถไฟเมื่อเริ่มออกวิ่งจากสถานี ก. ไปจนหยุดที่สถานี ข. สามารถแสดงได้ดังกราฟต่อไปนี้
จงคำนวณหาความเร็วเฉลี่ยของขบวนรถไฟที่วิ่งระหว่างสถานี ก. ถึงสถานี ข.
|
4. 12 m/s |
|
สังเกตจากกราฟความเร็วของขบวนรถไฟมีค่าสูงสุดอยู่ที่ 12 m/s
|
-
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
กากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ประกอบด้วยยูเรเนียม-238 ปริมาณ 640 กรัม หากครึ่งชีวิตของสารนี้คือ 4.5×10^9 ปี จะต้องใช้เวลาอย่างน้อยกี่ปีเพื่อให้สารนี้เหลืออยู่ 5 กรัม
|
|
|
3.15 x 10^10 ปี คำนวณจากสูตรครึ่งชีวิต T=nt1/2 และ N เหลือ = N เริ่มต้น/2^n โดย N เริ่มต้น คือ 640 กรัม, N เหลือ คือ 5 กรัม, t1/2 คือ 4.5x10^9 ปี และ n คือจำนวนครั้งในการสลายตัวของครึ่งชีวิต
|
ครึ่งชีวิต (t½) (อังกฤษ: Half-life) คือเวลาที่สารกัมมันตรังสีใช้ในการสลายตัวของสารเหลือครึ่งหนึ่งของที่มีอยู่เดิม มักถูกใช้ในฟิสิกส์นิวเคลียร์เพื่ออธิบายความเร็วช้าของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี แต่อาจจะใช้เพื่ออธิบายปริมาณใด ๆ ก็ตามที่มีการสลายตัวแบบเอ็กโพเนนเชียลด้วย
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
มะนาว มะม่วง มะเฟืองและมะพร้าว ชอบเดินทางท่องเที่ยวต่างจังหวัด โดยมะนาวและมะพร้าวเท่านั้นที่เคยเดินทางไปทั้งเชียงรายและสตูล มะเฟืองและมะม่วงเท่านั้นที่เคยไปทั้งหนองคายและภูเก็ต มะนาวและมะเฟืองเท่านั้นที่เคยไปทั้งสตูลและแม่ฮ่องสอน ถามว่าใครที่เคยไปภูเก็ตแต่ยังไม่เคยไปสตูล
|
2. มะม่วง |
|
วาดภาพเป็นแผนภาพ เวนน์ จะทำให้สามรถเข้าใจได้มากขึ้น และสามารถสรุปได้ว่า มะม่วงเคยไปภูเก็ตแต่ไม่เคยไปสตูล
|
แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ คือแผนภาพที่ใช้เขียนแทนเซตโดยใช้รูปปิดอะไรก็ได้ เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี แต่จะนิยมเขียนแทนเอกภพสัมพัทธ์ด้วยรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แล้วเขียนแทนเซตในเอกภพสัมพัทธ์ด้วยรูปวงกลม
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
6 10 18 30 46 66 …
|
3. 90 |
|
เพราะว่าจากโจทย์ลำดับบวกเพิ่มทีละ 4 8 12 16 20 ซึ่งเป็นจำนวนเต็มที่หาร 4 ลงตัวและเพิ่มขึ้นในลักษณะของ 4ท ทำให้สรุปได้ว่าพจน์ต่อไปจะบวกเพิ่มขึ้น 24 จะได้ 66+24 เท่ากับ 90
|
อนุกรม (Number Series) คือการหาความสัมพันธ์ของตัวเลขที่ให้มา และต้องมีความสัมพันธ์ในลักษณะไปในทิศทางเดียวกันและคำตอบของอนุกรมคือตัวถัดไปหรือตัวสุดท้าย ซึ่งวิธีในการหาอนุกรมจะไม่ตายตัวขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวเลขนั้นๆ
ลำดับ (Sequences) หมายถึง ตัวเลขชุดหนึ่งที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดให้
นิยาม : ฟังก์ชันที่มีโดเมน (Domain) (สมาชิกตัวหน้า) เป็นเซตของจำนวนเต็มบวกที่เรียงจากน้อยไปมากโดยเริ่มตั้งแต่ 1 และมีเรนจ์ (Range) (สมาชิกตัวหลัง) เป็นเซตของจำนวนจริง
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
E G D H C ...
|
4. I |
|
เป็นลำดับแบบสลับ n=เลขคี่ ตัวอักษรจะลดลงทีละ 1 ตัว ดังนี้ E, D, C, B, ... ส่วน n=เลขคู่ ตัวอักษรจะเพิ่มขึ้นทีละ 1 ตัว ดังนี้ G,H,I,J,K,... จึงสามารถสรุปได้ว่าพจน์ต่่อไปคือ I
|
อนุกรม (Number Series) คือการหาความสัมพันธ์ของตัวเลขที่ให้มา และต้องมีความสัมพันธ์ในลักษณะไปในทิศทางเดียวกันและคำตอบของอนุกรมคือตัวถัดไปหรือตัวสุดท้าย ซึ่งวิธีในการหาอนุกรมจะไม่ตายตัวขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวเลขนั้นๆ
ลำดับ (Sequences) หมายถึง ตัวเลขชุดหนึ่งที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดให้
นิยาม : ฟังก์ชันที่มีโดเมน (Domain) (สมาชิกตัวหน้า) เป็นเซตของจำนวนเต็มบวกที่เรียงจากน้อยไปมากโดยเริ่มตั้งแต่ 1 และมีเรนจ์ (Range) (สมาชิกตัวหลัง) เป็นเซตของจำนวนจริง
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
10 14 19 27 44 …
|
2. 88 |
|
เป็นอนุกรม 2 ชั้น ชั้นแรกจะเป็น +4 +5 +8 +17 +44 ชั้นต่อมาคือ +1 +3 +9 +27 ซึ่งก็คือ 3^n จะได้พจน์ต่อไปคือ 44+44 = 88
|
จากปกติเรารู้ว่า ลำดับเลขคณิต ง่ายๆ เช่น 1, 3, 5, 7,… ลำดับมีผลต่างร่วม คือ มันต่างกันทีละ 2 จาก 1 ไป 3 จาก 3 ไป 5 และจาก 5 ไป 7 จะมีผลต่างร่วมเป็น 2 ทุกๆ พจน์ไป เป็นเช่นนี้เรื่อยๆ อย่างนี้เรียกว่า ลำดับเลขคณิต “ธรรมดา” ลำดับเลขคณิตที่ผมจะอธิบายวันนี้ คือ มันเป็นสองชั้น ดูลำดับนี้ 1, 4, 10, 19, … ถ้านำ 4-1=3 10-4=6 19-10=9 จะเห็นว่า มันเพิ่มขึ้น เป็น 3, 6, 9,… นั่นคือ ผลต่างของมันจะเรียงเป็นลำดับเลขคณิต คือ 3, 6, 9,… คือมันเป็นลำดับแบบสองชั้น
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
1 3 7 15 31 …
|
2. 63 |
|
ทำให้อยู่ในรูปทั่วไปได้ an=2^n -1 โดย n คือ จำนวนพจน์ ทำให้พจน์ต่อไปคือซึ่งก็คือพจน์ที่ 6 มีค่าเท่ากับ 2^6 - 1 = 63
|
ลำดับ (Sequences) หมายถึง ตัวเลขชุดหนึ่งที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดให้
นิยาม : ฟังก์ชันที่มีโดเมน (Domain) (สมาชิกตัวหน้า) เป็นเซตของจำนวนเต็มบวกที่เรียงจากน้อยไปมากโดยเริ่มตั้งแต่ 1 และมีเรนจ์ (Range) (สมาชิกตัวหลัง) เป็นเซตของจำนวนจริง
อนุกรม (Number Series) คือการหาความสัมพันธ์ของตัวเลขที่ให้มา และต้องมีความสัมพันธ์ในลักษณะไปในทิศทางเดียวกันและคำตอบของอนุกรมคือตัวถัดไปหรือตัวสุดท้าย ซึ่งวิธีในการหาอนุกรมจะไม่ตายตัวขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวเลขนั้นๆ
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
9 18 14 28 24 48 …
|
4. 44 |
|
ตัวที่ 2 คือ 2 เท่าของตัวที่ 1 เช่น 9 18 และตัวที่ 2 ลบกับ 4 จะได้ตัวที่ 3 ดังนั้น พจน์ต่อไปคือ 48-4 เท่ากับ 44
|
ลำดับ (Sequences) หมายถึง ตัวเลขชุดหนึ่งที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดให้
นิยาม : ฟังก์ชันที่มีโดเมน (Domain) (สมาชิกตัวหน้า) เป็นเซตของจำนวนเต็มบวกที่เรียงจากน้อยไปมากโดยเริ่มตั้งแต่ 1 และมีเรนจ์ (Range) (สมาชิกตัวหลัง) เป็นเซตของจำนวนจริง
อนุกรม (Number Series) คือการหาความสัมพันธ์ของตัวเลขที่ให้มา และต้องมีความสัมพันธ์ในลักษณะไปในทิศทางเดียวกันและคำตอบของอนุกรมคือตัวถัดไปหรือตัวสุดท้าย ซึ่งวิธีในการหาอนุกรมจะไม่ตายตัวขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวเลขนั้นๆ
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
4 12 68 630 …
|
5. 7782 |
|
จากโจทย์พบว่าเป็นอนุกรมแบบยกกำลัง ตามสูตร (n+1)^n + (n+1)
|
ลำดับ (Sequences) หมายถึง ตัวเลขชุดหนึ่งที่เขียนเรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์ที่กำหนดให้
นิยาม : ฟังก์ชันที่มีโดเมน (Domain) (สมาชิกตัวหน้า) เป็นเซตของจำนวนเต็มบวกที่เรียงจากน้อยไปมากโดยเริ่มตั้งแต่ 1 และมีเรนจ์ (Range) (สมาชิกตัวหลัง) เป็นเซตของจำนวนจริง
อนุกรม (Number Series) คือการหาความสัมพันธ์ของตัวเลขที่ให้มา และต้องมีความสัมพันธ์ในลักษณะไปในทิศทางเดียวกันและคำตอบของอนุกรมคือตัวถัดไปหรือตัวสุดท้าย ซึ่งวิธีในการหาอนุกรมจะไม่ตายตัวขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวเลขนั้นๆ
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
ตัวอักษร 7 ตัว คือ A, B, C, D, E, F และ G นำตัวอักษรมาจัดเรียงจากค่าน้อยไปหามากตามเงื่อนไข ดังนี้
• ตำแหน่งของ D น้อยกว่าตำแหน่งของ A อยู่ 3 ตำแหน่ง
• B อยู่ตำแหน่งตรงกลาง
• ระหว่าง F กับ B มีตัวอักษรอื่นคั่นอยู่ 1 ตัว
• F มีค่าน้อยกว่า B แต่มากกว่า C
• G มีค่ามากกว่า F
|
3. D |
|
นำเงื่อนไขทั้งหมดวาดเป็นรูปลำดับของตัวอักษร และได้ว่า D อยู่ตำแหน่งที่ 3
|
วาดรูปเพื่อให้มองภาพง่ายขึ้น
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
ตัวอักษร 7 ตัว คือ A, B, C, D, E, F และ G นำตัวอักษรมาจัดเรียงจากค่าน้อยไปหามากตามเงื่อนไข ดังนี้
• ตำแหน่งของ D น้อยกว่าตำแหน่งของ A อยู่ 3 ตำแหน่ง
• B อยู่ตำแหน่งตรงกลาง
• ระหว่าง F กับ B มีตัวอักษรอื่นคั่นอยู่ 1 ตัว
• F มีค่าน้อยกว่า B แต่มากกว่า C
• G มีค่ามากกว่า F
|
3. 11 |
|
จากข้อ 16 ได้ลำดับของตัวอักษรดังนี้ C F D B G E A น้อยไปมากตามลำดับ และตัวอักษร E และ G มีค่า 6 และ 5 ตามลำดับ 6+5 = 11
|
สังเกต บวกเลขธรรมดา
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
“ ผู้ชายคนหนึ่งไม่เคยบอกภรรยาว่าเขารักเธอมากแค่ไหน จนกระทั่งเธอตายจากไป ถึงบัดนี้เขายังคงวางดอกไม้ไว้ที่หลุมศพของเธอทุกวัน พร้อมกับรอยจูบนับพันครั้งบนการ์ดที่เขียนว่า “ผมรักคุณ” เธอจะมีโอกาสได้รับรู้ไหม ”
ข้อความข้างต้น สามารถสรุปความได้ว่าอย่างไร
|
|
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
จงใช้ข้อมูล (a) และ (b) ต่อไปนี้ พิจารณาว่ามีความเพียงพอสำหรับตอบคำถามที่กำหนดให้หรือไม่
วันนี้เป็นวันที่เท่าใดของเดือนกุมภาพันธ์
(a) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ตรงกับวันเสาร์
(b) วันนี้เป็นวันเสาร์ และเป็นวันเสาร์สุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์
|
5. ข้อมูล (a) และข้อมูล (b) รวมกันแล้วก็ยังไม่เพียงพอ |
|
เพราะเราไม่ทราบว่าปีว่าเป็นปีอะไรจึงไม่ทราบว่าเดือนกุมภาพันธ์ในโจทย์มี 28 หรือ 29 วัน ถ้าหากว่า มี 28 วัน วันเสาร์สุดท้ายของเดือนจะเป็นวันที่ 22 แต่ถ้าหากเดือนกุมภาพันธ์ในโจทย์ มี29วัน วันเสาร์สุดท้ายจะเป็นวันที่ 29
|
สังเกต ใช้ปฏิทินเป็นตัวช่วย และนับเลขปกติ
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
พ่อแม่คู่หนึ่งมีลูกแฝดสามคน เป็นเด็กชายทั้งหมด และได้ตั้งชื่อว่า ภูฟ้า ภูผา และภูเขา โดยแต่ละคนจะมีเสื้อ กางเกงและถุงเท้าเป็นของตัวเอง โดยเสื้อที่เด็กชายทั้งสามคนใส่จะเป็นคนละไซส์กัน คือ เล็ก กลาง และใหญ่ ซึ่งเหมือนกันกับกางเกงและถุงเท้า โดยพบว่า เสื้อ กางเกง และถุงเท้าของเด็กชายแต่ละคนเป็นคนละไซส์กันหมด กางเกงของภูฟ้าไม่ใช่ไซส์กลาง ถุงเท้าของภูเขาและเสื้อของภูผาเป็นไซส์เดียวกัน ส่วนเสื้อของภูเขาและกางเกงของภูผาเป็นไซส์เดียวกัน เสื้อและถุงเท้าของภูฟ้ามีขนาดใหญ่และขนาดกลาง ตามลำดับ
จงหาว่าใครใส่ถุงเท้าไซส์เล็ก
|
3. ภูเขา |
|
จัดทำเป็นตารางไซส์เสื้อของเด็กแฝดสามคน และกำหนกสัญลักษณ์ที่มาใช้ชาวยวิเคราะห์จึงได้คำตอบออกมาว่า ภูเขา ใส่ถุงเท้าไซส์เล็ก
|
วิเคราะห์ โดยใช้ตารางเข้ามาช่วยในการวิเคราะห์
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
21 |
“ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต่ ค.ศ. 1895 โดย Norwegian Nobel Committee ประเทศนอร์เวย์ เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟร็ด โนเบล ที่กรุงออสโล โดยสมเด็จพระราชาธิบดีของนอร์เวย์เป็นผู้พระราชทานรางวัล “
ที่มา: https://th.wikipedia.org
บทความข้างต้น กล่าวถึงรายละเอียดของสิ่งใด
|
1. พิธีมอบรางวัลโนเบล |
|
เป็นบทความที่ไม่มีประสิทธิภาพกล่าวคือตอนแรกกล่าวถึงรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ แต่จู่ๆก็ โยงไปถึงพิธีมอบรางวัลโนเบล ทางที่ดีคือไม่ควรพูกชดถึงรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพตั้งแต่แรกถ้าประโยคถัดมาจะไม่มีอะไรกล่าวถึงรางวัลโนเบลสันติภาพอีก แต่กลับไปพูดถึงพิธีมอบรางวัลโนเบลแทน
|
หลักการวิเคราะห์ว่า หัวข้อเรื่องไม่จำเป็นต้องอยู่ในประโยคแรกเสมอไป เราควรพิจารณาใจความในภาพรวมว่าพูดถึงเรื่องใดมากที่สุด
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
22 |
จงใช้บทความต่อไปนี้ตอบคำถาม
ผ่านกาลเวลามายาวนาน "โรงพยาบาลหลวงแห่งแรก" ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งขึ้น ครบรอบเป็นปีที่126 ย้อนกลับไปยัง ปี 2424 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดเหตุการณ์อหิวาตกโรคระบาด พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงพยาบาลชั่วคราวขึ้นในชุมชนรวม 48 ตำบล เมื่อโรคร้ายเสื่อมถอยลง โรงพยาบาลจึงได้ปิดทำการ หากแต่ในพระราชหฤทัยของพระพุทธเจ้าหลวงยังทรงตระหนัก ว่า โรงพยาบาลที่เปิดในกาลนั้น ยังประโยชน์ให้พสกนิกร
ต่อมา วันที่ 22 มี.ค. 2429 พระพุทธเจ้าหลวง จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสร้างโรงพยาบาลขึ้น เพื่อดำเนินการก่อสร้างโรงพยาบาล ถาวรแห่งแรก ณ บริเวณวังของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข (วังหลัง) ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา โดยพระราชทานพระราชทรัพย์เป็นทุนแรกเริ่มในการดำเนินการ ในระหว่างที่เตรียมการก่อสร้างโรงพยาบาลนั้น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ พระราชโอรสในพระองค์ อันประสูติจากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ได้ประชวรด้วยโรคบิด สิ้นพระชนม์ลงเมื่อวันที่ 31 พ.ค.2430 ยังความอาลัยเศร้าโศกแก่พระองค์ จนถึงกับทรงมีพระราชปณิธานอย่างแรงกล้าที่จะให้มีโรงพยาบาลขึ้น ครั้นเสร็จงานพระเมรุ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้รื้อโรงเรือนและเครื่องใช้ต่างๆ ในงานพระเมรุนำไปสร้างโรงพยาบาล ณ บริเวณวังหลัง นอกจากนี้ ยังพระราชทานทรัพย์ส่วนของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ฯ แก่โรงพยาบาลอีกด้วย
แรกเริ่มการจัดตั้ง คณะกรรมการได้จัดสร้างเรือนพักผู้ป่วยขึ้น 6 หลัง และเมื่อ วันที่ 26 เม.ย. 2431 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนิน ทรงประกอบพิธีเปิด และพระราชทานนามว่า “โรงศิริราชพยาบาล” หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “โรงพยาบาลวังหลัง” เป็นสถานที่บำบัดรักษาผู้ป่วยไข้ทั้งแผนปัจจุบันและแผนโบราณ เมื่อเริ่มให้บริการในช่วงแรก ๆ เรียกได้ว่าแทบจะไม่มีผู้ป่วยมารับการตรวจรักษา เพราะประชาชนในสมัยนั้น ยังไม่คุ้นเคยและรู้จัก การแพทย์สมัยใหม่แบบตะวันตก จึงต้องแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการทูลเชิญเจ้านายหลายพระองค์ มารับการรักษาเป็นแบบอย่าง เมื่อการรักษาเป็นผลสำเร็จจึงเป็นที่ยอมรับ
กาลต่อมา พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นไชยนาทนเรนทร ผู้บัญชาการราชแพทยาลัย (โรงเรียนแพทย์) ได้ทรงโน้มน้าวพระทัย สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลา- ธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) ให้สนพระทัยวิชาแพทย์ จนพระองค์เสด็จไปศึกษาต่อต่างประเทศ และสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งพระองค์ได้ทรงดำเนินการหลายสิ่งพัฒนาการแพทย์และโรงพยาบาลศิริราชให้ก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศจนได้รับการถวายพระสมัญญานาม ว่า “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย” โรงพยาบาลศิริราช จึงถือว่า วันที่ 26 เม.ย.ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันพระราชทานกำเนิดโรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลหลวงแห่งแรกของประเทศไทยที่มีอายุยืนยาวที่สุด
ใจความหลักของบทความข้างต้น กล่าวถึงรายละเอียดของสิ่งใด
|
3. ความเป็นมาของโรงพยาบาลศิริราช |
|
เพราะว่าพิจารณาจากภาพรวมของบทความกล่าวถึงความเป็นใาของโรงพยาบาลศิริราช
|
อ่านภาพรวมด้วยความเร็วเพื่อแสกนใจความหลักที่ผู้เขียนต้องการสื่อออกมา
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
23 |
สารละลายโซเดียมคลอไรด์ความเข้มข้น 5 โมลต่อลิตร ถูกบรรจุอยู่ในขวด หากท่านต้องการเจือจางสารละลายโซเดียมคลอไรด์ให้มีความเข้มข้นที่ 0.5 โมลต่อลิตร ปริมาณ 1000 มิลลิลิตร ท่านจะต้องใช้สารละลายโซเดียมคลอไรด์ตั้งต้นจำนวนเท่าไร
|
2. 100 มิลลิลิตร |
|
ใช้สูตร C1V1=C2V2 คำนวณออกมาได้ปริมาตรสารละลายโซเดียมคลอไรด์ตั้งต้นเท่ากับ 100 มิลลิลิตร
|
นำสูตรไปแทนค่าจากโจทย์ ด้วยสูตรความสัมพันธ์ความเข้นข้นของสารละลายและปริมาตรสารละลาย C1V1=C2V2
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
24 |
ค่าระดับน้ำตาลในเลือด เป็นข้อมูลหนึ่งที่ช่วยพิจารณาระดับความเสี่ยงของการเป็นโรคเบาหวาน ซึ่งมีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้
คำถาม : หากมะเหมี่ยวและชมพู่ได้เข้ารับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดและพบว่ามะเหมี่ยวมีน้ำตาลปริมาณ 2.2 มิลลิกรัม ในเลือด 2 มิลลิลิตร ส่วนชมพู่มีปริมาณน้ำตาล 3.1 มิลลิกรัม ในเลือด 4 มิลลิลิตร ท่านคิดว่าผลการตรวจของทั้งสองคนจะเป็นอย่างไร
|
2. มะเหมี่ยวเสี่ยงที่จะเป็นเบาหวาน ส่วนชมพู่อยู่ในระดับปกติ |
|
เปลี่ยนหน่วย มิลลิตรให้เป็น เดซิลิตร จะได้ มะเหมี่ยวมีระกับน้ำตาลในเลือดเท่ากับ 110 เสี่ยงตาอการเป็นนโรคเบาหวาน ส่วนชมพู่มีระดับน้ำตาลในเลือดเท่ากับ 75 อยู่ในเกณฑ์ปกติ
|
ใช้หลักการเปลี่ยนหน่วยปปกติ และนำมาเทียบกับตาราง
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
25 |
แพทย์แนะนำให้อแมนด้าลดน้ำหนักเพราะพบว่าเธออยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยอ้างอิงจากผลการศึกษาขององค์การอนามัยโลกที่พบว่าดัชนีมวลกายสัมพันธ์กับโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยคนเอเชียที่มีค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 23 กิโลกรัม/ตารางเมตร เป็นต้นไป จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจเพิ่มขึ้น และอแมนด้าก็มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ที่ 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร
ถ้าอแมนด้ามีอายุ 30 ปี ส่วนสูง 160 เซนติเมตร เธอจะต้องลดน้ำหนักลงให้ได้ประมาณ 8 กิโลกรัมตามคำแนะนำของแพทย์ นั่นแสดงว่าเป้าหมายของน้ำหนักตัวใหม่ของเธออยู่ที่กี่กิโลกรัม
|
4. 56 กิโลกรัม |
|
คำนวณค่า BMI จากสูตร
|
คำนวณค่า BMI จากสูตร
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
26 |
หากระดับ Lidocaine 2% หรือยาชา ที่สามารถให้ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ได้ในระดับที่ปลอดภัย คือ ไม่เกิน 7 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ถ้าผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่รายหนึ่งกำลังเข้ารับการรักษาและจำเป็นต้องได้รับยาชา โดยผู้ป่วยรายนี้มีน้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม ผู้ป่วยรายนี้จะต้องได้รับยาชาไม่เกินกี่มิลลิลิตร (หมายเหตุ : 2% Lidocaine หมายถึง 1 มิลลิลิตร มียาชา 20 มิลลิกรัม)
|
|
|
50 มิลลิลิตร
|
คำนวณ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
27 |
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ หมายถึง ภาวะหัวใจเต้นเร็วหรือช้ากว่าปกติ ซึ่งโดยปกติหัวใจจะเต้นด้วยอัตรา 60-100 ครั้ง/นาที หากผลการจับเวลาเพื่อนับการเต้นของหัวใจของอีฟ โอ๊ต แอนและอาย เป็นดังต่อไปนี้
|
4. โอ๊ตและอาย |
|
เปลี่ยนวินาทีเป็นนาทีแล้วเทียบ
|
เปลี่ยนหน่วย
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
28 |
สถานพยาบาลแห่งหนึ่งได้ให้ปรึกษาทางด้านการควบคุมน้ำหนักตัวให้กับผู้เข้าใช้บริการ ซึ่งโดยทั่วไปจะพิจารณาอัตราการเผาผลาญพลังงานควบคู่กับกิจกรรมส่วนใหญ่ที่มักจะทำในแต่ละวัน โดยมีหลักเกณฑ์ในการคำนวณ ดังนี้
คำถาม : ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
|
2. เจมส์มีอัตราการเผาผลาญรวมสูงที่สุด ส่วนมะปรางมีอัตราการเผาผลาญรวมต่ำที่สุด |
|
คำนวณค่า MR
|
คำนวณค่า MR
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
29 |
นักศึกษาแพทย์หนุ่มนายหนึ่ง ต้องทำการแบ่งกลุ่มคนไข้ตามตารางต่อไปนี้
คำถาม : นักศึกษาแพทย์รายนี้ต้องแบ่งกลุ่มคนไข้ข้างต้นตามข้อใดจึงจะถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนดให้
|
4. นาย A ปกติ , นาย B อ้วนมากเกินไป , นาย C เกินมาตรฐาน |
|
คำนวณค่าBMIตามสูตร
|
คำนวณค่าBMIตามสูตร
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
30 |
แพทย์แนะนำให้เบลล่าควบคุมน้ำตาลที่ใส่ในกาแฟที่ดื่มในแต่ละวัน โดยใช้น้ำตาลซูโครส 4 g ละลายในน้ำกาแฟร้อน 80℃ ปริมาณ 350 ml หากความหนาแน่นของน้ำกาแฟที่อุณหภูมิ 80℃ = 0.975 g/ml จงหาเปอร์เซ็นต์องค์ประกอบของน้ำตาลในเครื่องดื่มนี้
|
2. 0.99% |
|
คำนวณ
|
คำนวณ
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|