1 |
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
|
3. ลักษณะหนึ่งมี allele ควบคุมหลายตัว ปรากฏลักษณะที่เป็นไปได้ 210 แบบ แสดงว่ามี allele ควบคุมลักษณะนี้ถึง 21 แบบ |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
พืช A มีชุดโครโมโซม 2n = 10 ส่วนพืชชนิด B มีชุดโครโมโซม 2n = 8 ข้อใดแสดงการเกิดสปีชีส์ใหม่แบบมหาภาค (Macroevolution)
|
5. เกิดการกลายพันธุ์แบบแทนที่คู่เบสขึ้นกับสปีชีส์ B |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
ลักษณะมีเครา (M) เป็นลักษณะเด่นต่อไม่มีเคราและมีการถ่ายทอดเป็นแบบ sex limit สามีภรรยาคู่หนึ่งแต่งงานกัน โดยสามี มีเครา ผิวปกติ หมู่เลือดโอ และที่ผิวเม็ดเลือดแดงไม่มี Ag-Rh ส่วนภรรยา ไม่มีเครา ผิวปกติ หมู่เลือดบี ผิวเม็ดเลือดแดงมี Ag-Rh มีบุตรด้วยกันแล้ว 2 คน เป็นเพศชาย ผิวเผือก หมู่เลือดโอและเม็ดเลือดแดงไม่ตกตะกอนเมื่อทำปฏิกิริยากับ Ab-Rh และมีเครา ส่วนอีกคนเป็นเพศหญิง ไม่มีเครา ผิวปกติ หมู่เลือดโอและเม็ดเลือดแดงไม่ตกตะกอนเมื่อทำปฏิกิริยากับ Ab-Rh ข้อใดบ้างไม่ถูกต้อง (กำหนดให้ A เป็น allele แสดงลักษณะผิวปกติ และ d เป็น allele แสดงหมู่เลือดระบบ Rh) (คัดแล้ว)
|
2. ภรรยามีโอกาสมี genotype แสดงลักษณะการมีเคราทั้งแบบ homozygous และ heterozygous |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
นกกาเหว่าไข่ไว้ให้แม่กาฟัก ภาวะนี้มีข้อใดถูกต้อง
|
1. Parasitism |
|
เป็นความสัมพันธ์แบบปรสิต(parasitsm) เนื่องจากแม่นกกาเหว่าจะได้ประโยชน์จากการที่แม่กาได้เลี้ยงลูกของมันจนโต ส่วนแม่กาเสียประโยชน์เพราะได้เลี้ยงดูลูกนกกาเหว่าตั้งแต่ฝักออกมาจากไข่จนโตด้วยความรัก เมื่อลูกนกกาเหว่าฝักออกมาจะดันไข่นกเจ้าของรังให้ตกจากรัง
|
https://twitter.com/biofight1/status/967403845583187968
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
ข้อใดพบใน Cyanobacteria ?
|
5. Bacteriochlorophyll |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
ทำไมทิวลิปต้องการอากาศเย็นก่อนออกดอก
|
5. เป็น long day plant |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
ข้อใดจับคู่ชนิดของฮอร์โมนและหน้าที่หรือคำอธิบายหรือบอกความเกี่ยวข้องไม่ถูกต้อง
|
2. LH. | Neurosecretory cell |
|
ฮอร์โมนลูทิไนซิง(LH) จะทำหน้าที่กระตุ้นอัณฑะในเพศชายและรังไข่ในเพศหญิง ซึ่งเป็นฮอร์โมนธรรมชาติที่ร่างกายสร้างขึ้นจากต่อมใต้สมอง (Pituitary gland)
ไม่ได้ถูกสร้างจากเซลล์ประสาทที่ผลิตฮอร์โมน(Neurosecretory Cell)
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดลำเลียงอยู่ในรูปสารใดมากที่สุด
|
2. HCO3- |
|
คาร์บอนไดออกไซด์ส่วนใหญ่ละลายอยู่ในเลือดในรูปของไบคาร์บอเนต (HCO3-) โดยคาร์บอนไดออกไซด์จะแพร่เข้าในเม็ดเลือดแดง รวมกับน้ำเกิดเป็นกรดคาร์บอนิก และกลายเป็นไบคาร์บอเนต
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
การตรวจปอดของทารกเพื่อพิสูจน์ว่าเด็กทารกมีการเสียชีวิตจากการฆ่าหรือเสียชีวิตเองทำได้จากการวัดค่าใดของปอด
|
4. RV |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
จากภาพแสดงการเข้าจับกันของโครโมโซมคู่เหมือนกันของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ข้อใดไม่ถูกต้อง
|
3. เป็น DCO (Dicrossing over) |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
ปัจจุบันในการตรวจหมู่เลือดเพื่อหาความเป็นพ่อ แม่ ลูก อาจจะไม่ได้ผลที่ถูกต้องเสมอไป เนื่องจากลูกไม่จำเป็นต้องมีหมู่เลือดที่ตรงกับพ่อหรือแม่ ดังนั้นเทคนิคทาง molecular จึงเข้ามาแทนที่เพื่อให้เกิดความแม่นยำของการตรวจมากขึ้น โดยเทคนิคที่นำมาใช้ในการตรวจหาพ่อ แม่ ลูก คือการทำ DNA fingerprint ที่ใช้หลักการของ Restriction Fragment Length Polymorphism (RFLP) และการเปรียบเทียบชิ้นส่วน DNA โดยหลักการ gel electrophoresis
ครอบครับของ นายฝ้ายและนางสาวไอซ์ มีลูกด้วยกัน 4 คน โดยลูกชาย 1 คน และลูกสาว 1 คน เป็นลูกที่เกิดกับเค้าทั้งสอง ลูกสาวอีก 1 คนเป็นลูกที่เกิดกับนางสาวไอซ์กับสามีเก่า และลูกชายอีก 1 คน เป็นลูกบุญธรรมที่นายฝ้ายรับมาเลี้ยงดู โดยครอบครัวนี้ได้ไปตรวจลักษณะของ DNA และได้ผลวิเคราะห์ ดังภาพ
คำถาม : เด็กคนใดเป็นลูกบุญธรรมของครอบครัวนี้
|
4. เฉพาะ เด็ก D |
|
วิธีตรวจลายพิมพ์DNA แบบ Restriction Fragment Length Polymorphism(RFLP) สามารถใช้ระบุความแตกต่างหรือความเหมือนของ DNA จากคนละแหล่งได้ โดยใช้เอนไซม์ตัดจำเพาะ ตัดดีเอนเอจากหลายแหล่ง แล้วนำมาทำเจลอิเลคโตรโฟรีซิส ต่อด้วยเซาท์เธิร์นบลอทไฮบริไดเซชันจากนั้นตรวจผล โดยเปรียบ เทียบรูปแบบของแถบDNA ที่เกิดขึ้นว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
|
http://www.digitalschool.club/digitalschool/science1_2_2/science19_1/more/995.php
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
หากรับประทาน แมงดาถ้วย เข้าไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์สิ่งที่ไม่ควรทำคือข้อใด
|
1. ทำให้อาเจียน |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
งูในข้อใดมี สารพิษต่อระบบประสาท (Neurotoxin) ในปริมาณรวมพวกสูงที่สุด
|
1. A, B และ C |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
ข้อใดเป็นชื่อของยาที่ลดการตอบสนองของเส้นประสาทที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปวด
|
5. Chlorpheniramine |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
สารพิษที่พบในปลาปักเป้าคือข้อใด
|
1. Tetradotoxin |
|
ในตัวปลาปักเป้าโดยเฉพาะที่ผิวหนัง รังไข่ และเครื่องในมีสารชีวพิษคือ tetradotoxin ซึ่งเป็นสารประกอบที่ละลายน้ำได้และทนต่อความร้อน
|
https://www.rama.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/pois-cov/tetrodotox1
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
ปัจจุบันในการตรวจหมู่เลือดเพื่อหาความเป็นพ่อ แม่ ลูก อาจจะไม่ได้ผลที่ถูกต้องเสมอไป เนื่องจากลูกไม่จำเป็นต้องมีหมู่เลือดที่ตรงกับพ่อหรือแม่ ดังนั้นเทคนิคทาง molecular จึงเข้ามาแทนที่เพื่อให้เกิดความแม่นยำของการตรวจมากขึ้น โดยเทคนิคที่นำมาใช้ในการตรวจหาพ่อ แม่ ลูก คือการทำ DNA fingerprint ที่ใช้หลักการของ Restriction Fragment Length Polymorphism (RFLP) และการเปรียบเทียบชิ้นส่วน DNA โดยหลักการ gel electrophoresis
ครอบครับของ นายฝ้ายและนางสาวไอซ์ มีลูกด้วยกัน 4 คน โดยลูกชาย 1 คน และลูกสาว 1 คน เป็นลูกที่เกิดกับเค้าทั้งสอง ลูกสาวอีก 1 คนเป็นลูกที่เกิดกับนางสาวไอซ์กับสามีเก่า และลูกชายอีก 1 คน เป็นลูกบุญธรรมที่นายฝ้ายรับมาเลี้ยงดู โดยครอบครัวนี้ได้ไปตรวจลักษณะของ DNA และได้ผลวิเคราะห์ ดังภาพ
คำถาม : เด็กคนใดที่เป็นลูกที่เกิดจากนายฝ้ายและนางสาวไอซ์
|
2. เด็ก A และ C |
|
วิธีตรวจลายพิมพ์DNA แบบ Restriction Fragment Length Polymorphism(RFLP) สามารถใช้ระบุความแตกต่างหรือความเหมือนของ DNA จากคนละแหล่งได้ โดยใช้เอนไซม์ตัดจำเพาะ ตัดดีเอนเอจากหลายแหล่ง แล้วนำมาทำเจลอิเลคโตรโฟรีซิส ต่อด้วยเซาท์เธิร์นบลอทไฮบริไดเซชันจากนั้นตรวจผล โดยเปรียบ เทียบรูปแบบของแถบDNA ที่เกิดขึ้นว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
โรคลมแดด เกิดจากการที่ร่างกายอยู่กลางแจ้ง แดดร้อนจัดเป็นเวลานาน ร่างกายจึงปรับสมดุลอุณหภูมิไม่ทัน ทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิสูงถึง 40 – 41 องศาเซลเซียส โดยอาการของผู้ป่วยที่เป็นลมแดด คือ อาการเป็นลม เพ้อ หมดสติ และอาจเสียชีวิตได้ข้อใดกล่าวถึงวิธีการที่สามารถป้องกันโรคลมแดดได้ถูกต้อง
|
5. ใช้ผ้าเย็นประคบส่วนต่าง 4ๆ ของร่างกาย เพื่อกระตุ้นอัตราเมแทบอลิซึมให้เพิ่มขึ้น |
|
ร่างกายของผู้ป่วย ลมแดด เป็นผลจากการที่ร่างกายอยู่ในบริเวณร้อนจัดเป็นเวลานาน เป็นผลให้อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้นเป็น 40-41 ร่างกายของผู้ป่วย จะมีการตอบสนองเพื่อรักษาดุลยภาพเพื่อลดความร้อนในร่างกายโดย หลอดเลือดขยายตัวเพื่อระบายความร้อนออกทางผิวหนัง และขับเหงื่อออกทางรูขุมขน รวมถึงลดอัตราเมแทบอลิซึม เพื่อลดอุณหภูมิในร่างกาย ดังนั้นการสวมใส่เสื้อผ้าที่เบาบางจะช่วยเพิ่มการระเหยของเหงื่อและการพาความร้อนออกจากร่างกาย
|
ข้อสอบ onet ม.6 2562
|
8 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
โรค Transposition of the great vessel (TGV) คือความผิดปกติตั้งแต่แรกเกิดของเด็กที่มีการสลับตำแหน่งของเส้นเลือด โดยให้กระบวนการทำงานของหัวใจ ดังภาพการจำลอง
คำถาม : ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง หากเด็กทารกที่เกิดมามีภาวะอาการดังกล่าว
|
5. เลือดที่ไหลไปยังส่วนต่างๆของร่างกายถูกแยกไหลไปสองวงจร ทำให้เลือดไม่ไปยังส่วนของร่างกายอย่างเพียงพอ |
|
ในผู้ที่มีความผิดปกตินี้ตำแหน่งของเอออร์ตากับพัลโมนารีอาร์เทอรีสลับกันดังนั้นเลือดที่ไหลไปสู่ปอดจะแยกวงจรกับเลือดที่ไปเลี้ยงทั่วร่างกาย โดยเลือดที่เอออร์ตาและอาร์เทอรีนำไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายนั้นจะเป็นเลือดที่มีปริมาณO2 ต่ำ (deoxygenated blood) เนื้อเยื่อจึงได้รับ O2 ไม่เพียงพอ และการที่เลือดแยกไหลเป็นสองวงจรเช่นนี้ จะทำให้เลือดที่ผ่านการแลกเปลี่ยนแก๊สจะไม่ไปยังส่วนอื่นของร่างกาย ความรุนแรงของความผิดปกตินี้จึงค่อนข้างสูง ผู้ที่มีความผิดปกตินี้ส่วนใหญ่จะมีช่องเปิดระหว่าง aortic arch และพัลโมนารีอาร์เทอรีทำให้เลือดจากสองระบบสามารถผสมกันได้บ้าง แต่ยังคงต้องได้รับการผ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติดังกล่าว
|
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหนังสือรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 4 ฉบับเผยแพร่ 2563.
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
ปัจจุบันสัตว์หลายชนิดได้รับผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อมหลายประการ เช่น การทำลายแหล่งที่อยู่อาศัยและการล่า
สัตว์ของมนุษย์ ซึ่งผลกระทบต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและสภาพอากาศที่แปรปรวนของโลก เช่น อุณหภูมิร้อนจัดหรือหนาวจัด หรือการมีฤดูกาลที่ยาวนานกว่าปกติ ส่งผลให้สัตว์ต้องเผชิญกับสภาพอากาศที่แปรปรวนอย่างรุนแรง ซึ่งไม่เหมาะกับการดำรงชีวิต สัตว์บางชนิดจึงหาอาหารได้ยากขึ้น การเจริญเติบโตของเชื้อโรคและปรสิตบางชนิดที่เป็นอันตรายต่อสัตว์เพิ่มขึ้น ทำให้ประชากรสัตว์บางชนิดไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพดังกล่าวได้และลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว
คำถาม : จากข้อมูล ผลกระทบต่อสัตว์ในข้อใดที่ไม่ได้เกิดจากภาวะโลกร้อน
|
2. การสูญพันธุ์ของสิงโตภูเขา เพราะพื้นที่ป่าถูกตัดทำลายจึงถูกล่าได้ง่ายขึ้น |
|
สิงโตภูเขาสูญพันธุ์เพราะพื้นที่ป่าถูกตัด ไม่ได้เกิดจาภาวะโลกร้อน
|
เมื่อพิ้นที่ป่าถูกตัดทำให้สิงโตภูเขามีที่กำบังหรือหลบซ่อนน้อยลง ทำให้ถูกล่าจากสิ่งมีชีวิตต่างๆ เช่น มนุษย์ได้ง่ายขึ้น
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากตับอ่อนสร้าง “ฮอร์โมนอินซูลิน” ได้น้อย หรือสร้างไม่ได้เลย ซึ่งฮอร์โมนชนิดนี้ทำหน้าที่ช่วยให้ร่างกายสลายน้ำตาลมาใช้เป็นพลังงาน เมื่ออินซูลินในร่างกายไม่เพียงพอ ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ ทำให้ปริมาณน้ำตาลในเลือดสูง ร่างกายจะปรับตัวไปใช้พลังงานจากการสลายสารอาหารอื่น เช่น ไขมัน หรือโปรตีน ซึ่งก่อให้เกิดการสะสมของของเสียที่เป็นอันตรายในเลือด น้ำตาลและของเสียปริมาณมากทำให้เลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความเข้มข้นสูง ร่างกายจึงต้องขับน้ำตาลและของเสียผ่านทางปัสสาวะ ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานปัสสาวะบ่อยในปริมาณมากและรู้สึกกระหายน้ำ
คำถาม : ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานปัสสาวะบ่อยในปริมาณมาก
|
5. ของเหลวที่ผ่านท่อหน่วยไตมีปริมาณน้ำตาลมาก น้ำจึงถูกดูดกลับได้น้อย |
|
จากข้อความเป็นเรื่องของการรักษาดุลยภาพ ข้อความสำคัญเพื่อใช้ประกอบการวิเคราะห์คือ น้ำตาลและของเสียปริมาณมากทำให้เลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความเข้มข้นสูง ร่างกายจึงต้องขับน้ำตาลและของเสียผ่านทางปัสสาวะ ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานปัสสาวะบ่อย ในปริมาณมากและรู้สึกกระหายน้ำ
|
ข้อสอบ onet ม.6 2562
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|