1 |
|
ข้อ ค. |
|
เนื่องจากรัทเทอร์ฟอร์ดได้ทำการทดลองโดยการยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นทองคำบาง ผลการทดลอง อนุภาคแอลฟาผ่านไปยังฉากในแนวเส้นตรง แสดงว่า ภายในอะตอมน่าจะมีพื้นที่ว่างเป็นจำนวนมาก อนุภาคแอลฟาเบี่ยงเบนเล็กน้อย แสดงว่าภายในอะตอมควรมีอนุภาคบางอย่างรวมกันเป็นกลุ่มก้อนขนาดเล็ก มีมวลมากพอที่ทำให้อนุภาคแอลฟาวิ่งไปเฉียดแล้วเบี่ยงเบน อนุภาคแอลฟาสะท้อนกลับ แสดงว่าในอะตอมจะมีอนุภาคบางอย่างที่เป็นกลุ่มก้อน มีมวลมากพอที่ทำให้อนุภาคแอลฟาสะท้อนกลับ
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
|
ข้อ ง. |
|
เนื่องจากธาตุ D อาจจะเป็นธาตุหมู่ 7 ซึ่งไม่ได้อยู่ในหมู่เดียวกันกับธาตุที่มีเลขอะตอม 15
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
|
ข้อ ง. |
|
ไอโซอิเล็กทรอนิกส์ คือ จำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
|
ข้อ ง. |
|
เมื่อนำสารไปสลายตัว คือ 232-4(4) =216
และ 90-4(2)+2(1) = 84 เนื่องจากโจทย์บอกว่ารังสีที่ปล่อยออกมาเป็นรังสีบีต้า 2 ตัวและรังสีแอลฟา 4 ตัว
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
|
ข้อ ง. |
|
เนื่องจากอิเล็กตรอนเคลื่อนที่แบบไร้ทิศทางทำให้บางครั้ง อิเล็กตรอนมากระจุกกันอยู่บริเวณเดียวกันทำให้เกิดประจุลบบางส่วน(ประจุลบชั่วคราวที่มีค่าประจุน้อยมาก)เกิดขึ้น และทำให้บริเวณที่ไม่มีอิเล็กตรอนอยู่เกิดประจุบวกบางส่วน(ประจุบวกชั่วคราวที่มีค่าประจุน้อยมาก)
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
|
ข้อ ค. |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
|
ข้อ ง. |
|
เนื่องธาตุ Aเป็นธาตุหมู่ 2ธาตุ B เป็นธาตุหมู่ 3 ธาตุCเป็นธาตุหมู่ 6 และธาตุDเป็นธาตุหมู่ 7
พันธะไอออนิกเป็นนำธาตุโลหะกับอโลหะมาผสมกันส่วนพันธะโควาเลนต์เป็นการนำธาตุอโลหะกับอโลหะมาผสมกัน และธาตุ A,B เป็นธาตุโลหะส่วนธาตุC,D เป็นธาตุอโลหะ
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
|
ข้อ ค. |
|
แทนค่าในสมการ
|
สมการ =ผลรวมของมวลอะตอมคูณกับเปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติหาร100
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
|
ข้อ ง. |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
|
ข้อ ง. |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
|
ข้อ ข. |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
|
ข้อ ค. |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
|
ข้อ ค. |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
|
|
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
|
68.25 ลูกบาศก์เซนติเมตร |
|
แทนค่าในสมการของกฎของชาร์ล V1=79.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร
T1=45+273 เคลวิน = 318 เคลวิน T2= 0+273 เคลวิน=273 เคลวิน
|
กฎของชาร์ล สมการ V1/T1 = V2/T2 โดยที่มวลและความดันคงที่ หน่วยของอุณหภูมิต้องเป็นหน่วยเคลวินเท่านั้น
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
|
|
|
ตอบ ค. เนื่องจากในการทดลองศึกษาสมบัติของแก๊สตอนที่1 เป็นกาทดลองเกี่ยวกับกฎของบอยล์ พบว่า เมื่ออุณหภูมิและมวลแก๊สคงที่ความดันของแก๊สแปรผกผันกับปริมาตรของแก๊ส ตอนที่ 2 เป็นการทดลองเกี่ยวกับกฎของชาร์ล พบว่า เมื่อมวลของแก๊สและความดันคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะเปลี่ยนแปลงแปรผันตรงกับอุณหภูมิ
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
|
ข้อ ค. |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
|
ข้อ ก. |
|
ปฎิกิริยาที่1,2ผลิตภัณฑ์ที่ได้เกิดแก๊สเป็นปฎิกิริยาของแก๊สส่วนปฎิกิริยาที่ 3 ผลิตภัณฑ์ที่ได้เป็นของแข็งและของเหลวซึ่งเป็นการเกิดตกตะกอน
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
|
ข้อ ง. |
|
การเติมตัวเร่งปฎิกิริยาเพื่อให้สารเกิดขึ้นได้เร็วขึ้นและทำให้มีโอกาศการชนมากขึ้น
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
|
|
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|