1 |
|
ข้อ ค. |
|
เป็นการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดที่ถูกต้อง
|
LordErnest Rutherford ได้ศึกษาทดลองยิงอนุภาคแอลฟาผ่านแผ่นทองคำบาง ผลการทดลองคือ
1. อนุภาคส่วนมากเคลื่อนที่ทะลุผ่านแผ่นทองคำเป็นเส้นตรง
2. อนุภาคส่วนน้อยเบี่ยงเบนไปจากเส้นตรง
3. อนุภาคส่วนน้อยมากสะท้อนกลับมาด้านหน้าของแผ่นทองคำ
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
|
ข้อ ค. |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
|
ข้อ ง. |
|
ไม่มีคำตอบ ที่เป้น isoelectronic
O=6, N=5
O+=5 , Ar=18
S2-=18 , Ne=10
S2-=18 , Si=14
Ca2+=18 , Kr=36
|
ไอโซอิเล็กทรอนิก หมายถึง ธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
|
ข้อ ง. |
|
Th แบ่ง alpha 4 ตัว = เลขอะตอม 90-2(4)=82= Pb
=เลขมวล = 232-4(4)=216
แบ่ง beta 2 ตัว เลขอะตอม+2=84=Po
เลขมวลคงที่
|
การแผ่รังสีแอลฟา นิวเคลียสใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีเลขอะตอมลดลง 2 และเลขมวลลดลง 4
การแผ่รังสีบีตา นิวตรอนในนิวเคลียสจะเปลี่ยนไปเป็นโปรตอนและอิเล็กตรอน นิวเคลียสใหม่จึงมีเลขมวลคงเดิมแต่ เลขอะตอมจะเพิ่มขึ้น 1 หน่วย
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
|
ข้อ ข. |
|
เป็นโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว
|
แรงดึงดูดระหว่างขั้ว คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่มีขั้วบวก และขั้วลบภายใน โมเลกุล ซึ่งเกิดเฉพาะกับโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
|
ข้อ จ. |
|
1 ถูก
2 ผิด เพราะ H2O=104 ํ ClO3= 109.5 ํ
3 ผิด เพราะ SO2 มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 1 คู่
|
Lewis Structure แสดงแต่ละอะตอมและตำแหน่งในโครงสร้างของโมเลกุลโดยใช้สัญลักษณ์ทางเคมี
3D molecule เป็นการแสดงลักษณะการเชื่อของพันธะในแต่ละโมเลกุล
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
|
ข้อ ก. |
|
1 ถูก เพราะ A valence e- = 2, D valence e- = 7 จับกันได้ AD2
2 ผิดเพราะ C and D ไม่ใช่โคเวเลนซ์
|
สารประกอบไอออนิก ประกอบด้วยธาตุโลหะที่เป็นไอออนบวก และธาตุที่เป็นอโลหะเป็นไอออนลบ ยึดกันด้วยแรงดึงดูดระหว่างประจุไฟฟ้า เรียกว่า พันธะไอออนิก
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะทำปฏิกิริยากับอะตอมของอโลหะโดยจะนำวาเลนต์อิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกัน เพื่อให้อยู่สภาวะที่เสถียร
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
|
ข้อ ค. |
|
(19.995 x 80) + (20.005 x 20) /100= 1599.6+400.1 / 100 = 1999.7/100 = 19.997
|
สูตรการคำนวน มวลอะตอมเฉลี่ย = (มวลอะตอม 1 x %ที่พบ) + (มวลอะตอม 2 x %ที่พบ) แล้วหารด้วย 100
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
|
ข้อ ง. |
|
H2 = 1.5x2 = 3 atomic mole
O = 1.5 x1= 1.5 atomic mole
total= 4.5 atomic mole
|
การหาโมลอะตอมคือการนำธาตุแต่ละตัวในโมเลกุลมาคูณจำนวนโมล
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
|
ข้อ ง. |
|
NaOH มี Molecular Weight = 40 g มี 40g เท่ากับว่ามี 1 mol
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
|
ข้อ ข. |
|
เข้มข้น 1 dm3 มี 10 mol แสดงว่า ใน 0.05 dm3 มี 0.5 mol
mol = g/MW
0.5 = 47.5/MW
MW = 95
ซึ่งตรงกับ MgCl2
|
mol = g/MW
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
|
ข้อ ก. |
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
|
|
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
|
|
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
|
68.25 |
|
หน่วย T เป็น K
V1/T1 = V2/T2
79.5/45+273 = V2/0+273
79.5/318 = V2/273
V2 = 68.25
|
กฎของชาร์ลส์ V1/T1 = V2/T2 เมื่อปริมาตรเพิ่มขึ้น อุณหภูมิของก๊าซจะเพิ่มขึ้น และในทางกลับกัน ปริมาตรและอุณหภูมิเป็นสัดส่วนโดยตรง
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
|
|
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
|
ข้อ ค. |
|
กราฟที่เกิดคือ พุ่งขึ้น /
|
เมื่อน้ำหนักโมเลกุลของสารเคมีเพิ่มขึ้น ความหนาแน่นของสารเคมีก็จะเพิ่มขึ้น
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
|
|
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
|
ข้อ จ. |
|
ตัวเร่งปฏิกิริยาจะช่วยในเรื่องของการลดพลังงานก่อกัมมันต์ ทำให้สารตั้งต้นที่มีพลังงานจลน์มากพอกับพลังงารก่อกัมมันต์มีมากขึ้น
|
ตัวเร่งคือ สารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้ว ทําให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้เร็วขึ้น จาการลดพลังงานก่อกัมมันต์
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
|
|
|
|
|
5 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|