ตรวจข้อสอบ > สาธกา อภิชัยธนกุล > วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (เชิงวิทยาศาสตร์การแพทย์) | Biological Sciences > Part 1 > ตรวจ

ใช้เวลาสอบ 54 นาที

Back

# คำถาม คำตอบ ถูก / ผิด สาเหตุ/ขยายความ ทฤษฎีหลักคิด/อ้างอิงในการตอบ คะแนนเต็ม ให้คะแนน
1


ปัจจุบันในการตรวจหมู่เลือดเพื่อหาความเป็นพ่อ แม่ ลูก อาจจะไม่ได้ผลที่ถูกต้องเสมอไป เนื่องจากลูกไม่จำเป็นต้องมีหมู่เลือดที่ตรงกับพ่อหรือแม่ ดังนั้นเทคนิคทาง molecular จึงเข้ามาแทนที่เพื่อให้เกิดความแม่นยำของการตรวจมากขึ้น โดยเทคนิคที่นำมาใช้ในการตรวจหาพ่อ แม่ ลูก คือการทำ DNA fingerprint ที่ใช้หลักการของ Restriction Fragment Length Polymorphism (RFLP) และการเปรียบเทียบชิ้นส่วน DNA โดยหลักการ gel electrophoresis ครอบครับของ นายฝ้ายและนางสาวไอซ์ มีลูกด้วยกัน 4 คน โดยลูกชาย 1 คน และลูกสาว 1 คน เป็นลูกที่เกิดกับเค้าทั้งสอง ลูกสาวอีก 1 คนเป็นลูกที่เกิดกับนางสาวไอซ์กับสามีเก่า และลูกชายอีก 1 คน เป็นลูกบุญธรรมที่นายฝ้ายรับมาเลี้ยงดู โดยครอบครัวนี้ได้ไปตรวจลักษณะของ DNA และได้ผลวิเคราะห์ ดังภาพ คำถาม : เด็กคนใดเป็นลูกบุญธรรมของครอบครัวนี้

4. เฉพาะ เด็ก D

การดูแถบตาราง fingerprint แถบทุกแถบของลูกต้องเป็นส่วนหนึ่งของพ่อและแม่ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า AและC เป็นลูกของน.ส.ไอซ์และนายฝ้าย และBเป็นลูกของน.ส.ไอซ์กับสามีเก่า และDจึงเป็นลูกบุญธรรม

อ้างอิง จิรัสย์ เจนพาณิชย์,BIOLOGY for high school students,หน้า199

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

2


หากรับประทาน แมงดาถ้วย เข้าไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์สิ่งที่ไม่ควรทำคือข้อใด

5. ไม่มีข้อที่ควรทำ

ถ้ารับประทานแมงดาถ้วยเข้าไปควรทำให้ผู้ป่วยหายใจคล่องที่สุด ไม่ควรให้กินไข่ขาว ยา นม หรือน้ำ เพราะจะทำให้ผู้ป่วยสำลัก ไม่ควรให้ผู้ป่วยอาเจียนเพราะจะทำให้ผู้ป่วยสำลัก และอาจเกิดการอุดกั้นหลอดลมผู้ป่วยได้ ส่วนการกินผงถ่าน ผงถ่านช่วยดูดซับพิษได้ แต่ไม่ใช่ทุกชนิด และไม่มีงานวิจัยที่พบว่าผงถ่านดูดซับ tetrodotoxin ได้จริงๆ

https://psub.psu.ac.th/?p=5870

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

3


งูในข้อใดมี สารพิษต่อระบบประสาท (Neurotoxin) ในปริมาณรวมพวกสูงที่สุด

1. A, B และ C

งูเห่า งูจงอาง งูข้างสมิงคลา เป็นงูที่มีสารพิษที่ส่งผลต่อระบบประสาท งูแมวเซา งูกะปะ เป็นงูที่มีพิษส่งผลต่อส่วนอื่น เช่น Hemorrhagins ,Procoagulant enzymes เป็นต้น

https://www.rama.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/pois-cov/snake

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

4


ข้อใดเป็นชื่อของยาที่ลดการตอบสนองของเส้นประสาทที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปวด

1. Aspirin

Aspirin เป็นยาที่บรรเทาอาการปวด ลดอาการอักเสบของกล้ามเนื้อได้ Anhistamine เป็นยาแก้แพ้ Clomiphene citrate เป็นยาที่เหนี่ยวนำการตกไข่ Furosemide ใช้ขับของเหลวส่วนเกินออกจากร่างกาย และ Chlorpheniramine ใช้รักษาอาการแพ้

https://haamor.com/

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

5


สารพิษที่พบในปลาปักเป้าคือข้อใด

1. Tetradotoxin

tetradotoxin เป็นสารพิษที่อันตรายต่อสุขภาพ พบในปลาทะเลบางชนิด และยิ่งปลาปักเป้าจะพบมากในแถบประเทศญี่ปุ่น ทำให้ มีคนเสียชีวิตหลายราย tetradotoxin จะพบมากในตับ รังไข่ ลำไส้ และผนังปลา คาดว่าเกิดจากการสังเคราะห์แบคทีเรียหรือสาหร่ายเซลล์เดียวไดโนแฟลกเจลเลต ดังนั้นจึงควรกำจัดสารพิษออกก่อนรับประทาน สารพิษชนิดนี้ยังร้ายแรงทำให้คนเสียชีวิตได้อีกด้วย

https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/42/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%99-Tetrodotoxin-%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%B2/

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

6


ปัจจุบันในการตรวจหมู่เลือดเพื่อหาความเป็นพ่อ แม่ ลูก อาจจะไม่ได้ผลที่ถูกต้องเสมอไป เนื่องจากลูกไม่จำเป็นต้องมีหมู่เลือดที่ตรงกับพ่อหรือแม่ ดังนั้นเทคนิคทาง molecular จึงเข้ามาแทนที่เพื่อให้เกิดความแม่นยำของการตรวจมากขึ้น โดยเทคนิคที่นำมาใช้ในการตรวจหาพ่อ แม่ ลูก คือการทำ DNA fingerprint ที่ใช้หลักการของ Restriction Fragment Length Polymorphism (RFLP) และการเปรียบเทียบชิ้นส่วน DNA โดยหลักการ gel electrophoresis ครอบครับของ นายฝ้ายและนางสาวไอซ์ มีลูกด้วยกัน 4 คน โดยลูกชาย 1 คน และลูกสาว 1 คน เป็นลูกที่เกิดกับเค้าทั้งสอง ลูกสาวอีก 1 คนเป็นลูกที่เกิดกับนางสาวไอซ์กับสามีเก่า และลูกชายอีก 1 คน เป็นลูกบุญธรรมที่นายฝ้ายรับมาเลี้ยงดู โดยครอบครัวนี้ได้ไปตรวจลักษณะของ DNA และได้ผลวิเคราะห์ ดังภาพ คำถาม : เด็กคนใดที่เป็นลูกที่เกิดจากนายฝ้ายและนางสาวไอซ์

2. เด็ก A และ C

การดูแถบตาราง fingerprint แถบทุกแถบของลูกต้องเป็นส่วนหนึ่งของพ่อและแม่ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า AและC เป็นลูกของน.ส.ไอซ์และนายฝ้าย และBเป็นลูกของน.ส.ไอซ์กับสามีเก่า และDจึงเป็นลูกบุญธรรม

อ้างอิง จิรัสย์ เจนพาณิชย์,BIOLOGY for high school students,หน้า199

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

7


โรคลมแดด เกิดจากการที่ร่างกายอยู่กลางแจ้ง แดดร้อนจัดเป็นเวลานาน ร่างกายจึงปรับสมดุลอุณหภูมิไม่ทัน ทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิสูงถึง 40 – 41 องศาเซลเซียส โดยอาการของผู้ป่วยที่เป็นลมแดด คือ อาการเป็นลม เพ้อ หมดสติ และอาจเสียชีวิตได้ข้อใดกล่าวถึงวิธีการที่สามารถป้องกันโรคลมแดดได้ถูกต้อง

4. สวมใส่เสื้อผ้าที่เบาบางเพื่อเพิ่มการระเหยของเหงื่อและการพาความร้อน

ลมแดดเกิดจากร่างกายมีความร้อนสูงเกิน ภาวะนี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่ออวัยวะสำคัญและภาวะแทรกซ้อนได้ การรักษาเบื้องต้น คือต้องลดอุณหมิมิร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นการถอดเสื้อผ้าคลายร้อน วางถุงน้ำแข็ง แช่น้ำเย็น แต่ที่สำคัญคือ ห้ามดื่มเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพราะสามารถปรับอุณหภมิร่างกายได้

ทฤษฎีในการคิด คือ คนเป็นลมแดด คืออุณภูมิร่างกายสูงเกิน วิธีแก้ไขคือต้องลดอุณหภูมิร่างกาย และระบายความร้อนออก อ้างอิง https://www.bangkokinternationalhospital.com/th/health-articles/diseases-and-treatments/hot-weather-must-be-careful-of-heatstroke

8

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

8


โรค Transposition of the great vessel (TGV) คือความผิดปกติตั้งแต่แรกเกิดของเด็กที่มีการสลับตำแหน่งของเส้นเลือด โดยให้กระบวนการทำงานของหัวใจ ดังภาพการจำลอง คำถาม : ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง หากเด็กทารกที่เกิดมามีภาวะอาการดังกล่าว

3. เส้นเลือด Aorta มีความดันเลือดสูงขึ้นส่งผลให้เลือดที่ไหลไปยังปอดมีปริมาณมากขึ้น

โรคTGVเกิดจากการสลับที่ของหลอดเลือดแดงใหญ่aorta กับ pulmonary artery ทำให้เลือดที่ใช้แล้วส่งเข้าหัวใจห้องบนขวาลงไปห้องล่างขวาและแทนที่ปกติจะผ่านpulmonary arteryแล้วไปฟอกที่ปอด กลับผ่านaortaและสูบฉีดเลือดไปทั่วร่างกายโดยเป็นเลือดO2ต่ำเหมือนเดิม, แต่กลับกันเลือดที่ฟอกแล้วมีO2สูง กลับไหลเวียนอยู่ในระบบปอดไม่สูบฉีดเลือดออกมา

https://www.cdc.gov/ncbddd/heartdefects/d-tga.html

10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

9


ปัจจุบันสัตว์หลายชนิดได้รับผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อมหลายประการ เช่น การทำลายแหล่งที่อยู่อาศัยและการล่า สัตว์ของมนุษย์ ซึ่งผลกระทบต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและสภาพอากาศที่แปรปรวนของโลก เช่น อุณหภูมิร้อนจัดหรือหนาวจัด หรือการมีฤดูกาลที่ยาวนานกว่าปกติ ส่งผลให้สัตว์ต้องเผชิญกับสภาพอากาศที่แปรปรวนอย่างรุนแรง ซึ่งไม่เหมาะกับการดำรงชีวิต สัตว์บางชนิดจึงหาอาหารได้ยากขึ้น การเจริญเติบโตของเชื้อโรคและปรสิตบางชนิดที่เป็นอันตรายต่อสัตว์เพิ่มขึ้น ทำให้ประชากรสัตว์บางชนิดไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพดังกล่าวได้และลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว คำถาม : จากข้อมูล ผลกระทบต่อสัตว์ในข้อใดที่ไม่ได้เกิดจากภาวะโลกร้อน

2. การสูญพันธุ์ของสิงโตภูเขา เพราะพื้นที่ป่าถูกตัดทำลายจึงถูกล่าได้ง่ายขึ้น

การสูญพันธุ์ของสิงโตจะเกิดจากการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ ไม่ได้เกิดจากภาวะโลกร้อน และในข้ออื่นๆ เช่น 1.เมื่อเกิดภาวะโลกร้อนอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกก็จะสูงขึ้น ทำให้การเพิ่มจำนวนของพยาธิสูงขึ้น 2.ภาวะโลกร้อนจะทำให้น้ำแข็งขั้วโลกละลาย หมีขั้วโลกจะล่าเหยื่อได้น้อยลง 4.ที่อยู่อาศัยของเพนกวินถูกทำลาย อุณหภูมิสูงขึ้น สัตว์บางชนิดปรับตัวยาก สัตว์บางชนิดจึงสูญเสียไป 5.ภาวะโลกร้อนจะทำให้ อากาศแปรปรวน

การสูญพันธุ์ของสิงโต เพราะการตัดไม้ทำลายป่า เป็นเหตุที่เกิดจากมนุษย์ตัดทำลาย ไม่ใช่ภาวะโลกร้อนแต่อย่างใด

10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

10


โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากตับอ่อนสร้าง “ฮอร์โมนอินซูลิน” ได้น้อย หรือสร้างไม่ได้เลย ซึ่งฮอร์โมนชนิดนี้ทำหน้าที่ช่วยให้ร่างกายสลายน้ำตาลมาใช้เป็นพลังงาน เมื่ออินซูลินในร่างกายไม่เพียงพอ ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ ทำให้ปริมาณน้ำตาลในเลือดสูง ร่างกายจะปรับตัวไปใช้พลังงานจากการสลายสารอาหารอื่น เช่น ไขมัน หรือโปรตีน ซึ่งก่อให้เกิดการสะสมของของเสียที่เป็นอันตรายในเลือด น้ำตาลและของเสียปริมาณมากทำให้เลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความเข้มข้นสูง ร่างกายจึงต้องขับน้ำตาลและของเสียผ่านทางปัสสาวะ ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานปัสสาวะบ่อยในปริมาณมากและรู้สึกกระหายน้ำ คำถาม : ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานปัสสาวะบ่อยในปริมาณมาก

4. ต่อมใต้สมองหลั่งฮอร์โมนเข้าสู่กระแลเลือดไปกระตุ้นท่อหน่วยไต

ฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการขับถ่ายที่ต่อมใต้สมองหลั่งคือ vasopressin(ADH) เป็นฮอร์โมนที่ถูกกระตุ้นเมื่อความเข้มข้นของเลือดสูงขึ้น ทำหน้าที่กระตุ้นการดูดน้ำกลับที่ท่อขดไตส่วนปลาย และท่อรวม จะทำให้ปริมาตรของปัสสาวะลดลง

อ้างอิง ดร.ศุภณัฐ ไพโรหกุล,BIOLOGY,หน้า104

10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

11


ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง

1.การผสมจีโนไทป์จะไม่ได้ลูก128แบบ 2.ฟีโนไทป์ของลูกไม่เหมือนกับพ่อแม่ 3.ไม่สามารถคำนวณได้ว่ามีอัลลีลควบคุมกี่แบบ 4.หมู่เลือดRH ไม่ได้ควบคุมแบบCo Dominance

ข้อ2 ลูมีจีโนไทป์cc จึงไม่มีลักษณะเหมือนพ่อแม่ อ้างอิง ดร.ศุภณัฐ ไพโรหกุล,BIOLOGY

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

12


พืช A มีชุดโครโมโซม 2n = 10 ส่วนพืชชนิด B มีชุดโครโมโซม 2n = 8 ข้อใดแสดงการเกิดสปีชีส์ใหม่แบบมหาภาค (Macroevolution)

3. พืชชนิดใหม่ที่สืบพันธุ์ต่อไปได้สร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีชุดโครโมโซม 2n = 16

การเกิดสปีชีส์ใหม่คือการที่มีโครสร้างโครโมโซมใหม่ ข้อ3 จึงสอดคล้องกับแนวคิดของโจทน์ที่สุด

การเกิดnon disjunction จะเกิดไม่ได้ในพืช เพราะพืชไม่แบ่งตัวแบบmiosis, โครโซมของพืชA มี10แท่ง และพืชชนิดใหม่ที่เกิดขึ้นคือพืชที่มีสปีชีส์ใหม่

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

13


ลักษณะมีเครา (M) เป็นลักษณะเด่นต่อไม่มีเคราและมีการถ่ายทอดเป็นแบบ sex limit สามีภรรยาคู่หนึ่งแต่งงานกัน โดยสามี มีเครา ผิวปกติ หมู่เลือดโอ และที่ผิวเม็ดเลือดแดงไม่มี Ag-Rh ส่วนภรรยา ไม่มีเครา ผิวปกติ หมู่เลือดบี ผิวเม็ดเลือดแดงมี Ag-Rh มีบุตรด้วยกันแล้ว 2 คน เป็นเพศชาย ผิวเผือก หมู่เลือดโอและเม็ดเลือดแดงไม่ตกตะกอนเมื่อทำปฏิกิริยากับ Ab-Rh และมีเครา ส่วนอีกคนเป็นเพศหญิง ไม่มีเครา ผิวปกติ หมู่เลือดโอและเม็ดเลือดแดงไม่ตกตะกอนเมื่อทำปฏิกิริยากับ Ab-Rh ข้อใดบ้างไม่ถูกต้อง (กำหนดให้ A เป็น allele แสดงลักษณะผิวปกติ และ d เป็น allele แสดงหมู่เลือดระบบ Rh) (คัดแล้ว)

2. ภรรยามีโอกาสมี genotype แสดงลักษณะการมีเคราทั้งแบบ homozygous และ heterozygous

ภารยามีโอกาศแสดงการมีเคราแบบRecessive Homozygous เท่านั้น เพราะภารยาไม่มีเครา ดังนั้นถ้าแสดงแบบHeterozygous จะกลายเป็นมีเคราะทันที เพราะ ลักษณะมีเคระเป็นลักษณะเด่น

ลักษณะมีเครา เป็นลักษณะเด่น เมื่อ ลักษณะเด่นปรากฎอยู่ในโครโมโซม ฟีโนไทป์ที่แสดงออกจะเป็นตามลักษณะเด่นทันที

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

14


นกกาเหว่าไข่ไว้ให้แม่กาฟัก ภาวะนี้มีข้อใดถูกต้อง

1. Parasitism

นกกาเหว่าได้ประโยชน์จากการให้แม่ฟักไข่ ส่วนแม่นกกาเหว่า เสียประโยชน์ เพราะเมื่อนกกาเหว่าฝัก นกกาเหว่าจะดันไข่ของแม่นกกาเหว่าให้ตก และจะทำให้แม่นกกาเหว่าคิดว่านั้นเป็นลูกของตัวเอง

นกกาเหว่าได้ชื่อว่าเป็นนกที่ชอบวางไข่ในรังของคนอื่น และจะไม่เลี้ยงลูกของตัวเอง ดังนั้นแม่นกกาเหว่าจึงได้ประโยชน์(+) และ รังที่แม่นกกาเหว่าไปวางไข่ จะเสียประโยชน์(-) จึงมีภาวะเป็นภาวะปรสิต

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

15


ข้อใดพบใน Cyanobacteria ?

5. Bacteriochlorophyll

cyanobacteria เป็นprokaryotic cell ซึ่งจะไม่พบออแกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มเลย แต่ว่าcyanobacteria เป็นแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์แสงได้ จึงมีbacteriochlorophyll เพื่อช่วยในการสังเคราะห์แสง

endomembrane system เป็นกลุ่มของออร์แกเนลล์ในeukarytic cells Capsid เป็นส่วนนอกสุดของไวรัส คอยคุ้มกันnucleus อ้างอิง จิรัสย์ เจนพาณิชย์,BIOLOGY for high school students,หน้า27

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

16


ทำไมทิวลิปต้องการอากาศเย็นก่อนออกดอก

2. Thermonastic

การที่ทิวลิปต้องการอากาศเย็นก่อนจะออกดอก แสดงถึงการตอบสนองต่ออุณหภมิ ที่ไม่มีทิสทางที่แน่นอน(thermonastic)

การตอบสนองของพืชมี2แบบใหญ่ๆคือ tropic movement และ nastic movement การที่ทิวลิปออกดอก เป็นการตอบสนองแบบnastic movement และ เป็นการตอบสนองต่ออุณหภมิ ซึ่งthermo เป็นรากศัพท์ของอุณหภมิ ดังนั้น จึงตอบได้ว่าทิวลิปมาการตอบสนองแบบThermonastic

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

17


ข้อใดจับคู่ชนิดของฮอร์โมนและหน้าที่หรือคำอธิบายหรือบอกความเกี่ยวข้องไม่ถูกต้อง

3. TSH. | Negative feedback control

TSH. เป็นฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างฮอร์โมน Nagative Feedback Control เป็นการหลั่งฮอร์โมนยับยั้งแบบย้อนกลับ

Campbell.Campbell Biology .12th ed 2020.N.Y.Pearson.page 1005,1057

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

18


คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดลำเลียงอยู่ในรูปสารใดมากที่สุด

2. HCO3-

การลำเลียงCO2 จะลำเลียงผ่านplasmaเป็นหลัก ทำให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)รวมกับน้ำ(H2O)ในเลือด กลายเป็นกรดคาร์บอนิก(H2CO3) แต่กรดคาร์บอนิก(H2CO3) ไม่เสถียร จึงสลายแตกตัวเป็นH+,HCO3- และกระบวนการนี้จะเกิดขึ้นที่เซลล์

อ้างอิง ดร.ศุภณัฐ ไพโรหกุล,BIOLOGY,หน้า154

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

19


การตรวจปอดของทารกเพื่อพิสูจน์ว่าเด็กทารกมีการเสียชีวิตจากการฆ่าหรือเสียชีวิตเองทำได้จากการวัดค่าใดของปอด

4. RV

RV เป็นปริมาตรปอดส่วนเหลือ หมายถึง ปริมาตรอากาศที่เหลืออยู่ในปอดหลังหายใจออกเต็มที่แล้ว คาดว่าน่าจะใช้วัดว่าเด็กมีการหายใจที่ผิดปกติหรือไม่ เพื่อพิสูจน์หาว่าเด็กเสียชีวิตจากอะไร

http://www.klanghospital.go.th/ การใช้และการดูแลเครื่องมือแพทย์ในหอผู้ป่่วยวิกฤติสำหรับพยาบาล หน้า9-11.pdf

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

20


จากภาพแสดงการเข้าจับกันของโครโมโซมคู่เหมือนกันของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ข้อใดไม่ถูกต้อง

4. ไม่เกิดการเกิด translocation ของโครโมโซมแบบหนึ่ง

จากภาพเกิดการcrossing overของโครโมโซม ทำให้เกิดการเรียงของยีนสลับตำแหน่งกัน

จากภาพมีการสลับนำขาไคว้กันของโครโมโซม จึงสรุปได้ว่านี่คือการcrossing over และการ crossing over ต้อง เกิดการtranslocationของโครโมโซม

7

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

ผลคะแนน 84.2 เต็ม 150

แท๊ก หลักคิด
แท๊ก อธิบาย
แท๊ก ภาษา