ตรวจข้อสอบ > ปวเรศ จงเชี่ยวชาญวิทย์ > เคมีเชิงวิทยาศาสตร์การแพทย์ | Chemistry > Part 1 > ตรวจ

ใช้เวลาสอบ 39 นาที

Back

# คำถาม คำตอบ ถูก / ผิด สาเหตุ/ขยายความ ทฤษฎีหลักคิด/อ้างอิงในการตอบ คะแนนเต็ม ให้คะแนน
1


ข้อ จ.

การทดลองของมิลลิเเกน ที่ทำการหยดน้ำมันที่มีประจุไฟฟ้าลบ ทำให้ทราบค่าประจุของอิเล็กตรอน คือ 1.6 * 10^-19 คูลอมป์

จากการทดลองของมิลลิเเกน อ้างอิงจากหนังสือเคมีเพิ่มเติมม.4 เล่ม 1 ของสสวท.

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

2


ข้อ จ.

ทั้ง C3D เเละ C2O ต่างก็เป็นพันธะโควาเลนต์ทั้งคู่ ในขณะที่ข้อ ก-ง นั้นกล่าวถูกต้อง

ทฤษฎีพันธะโควาเลนต์

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

3


ข้อ ข.

สารที่เป็นไอโซอิเล็กทรอนิกกัน จะต้องมีอิเล็กตรอนที่เท่ากัน เเต่เป็นธาตุที่ต่างชนิด

ไอโซอิเล็กทรอนิก คือ ธาตุต่างชนิดกันที่มีอิเล็กตรอนเท่ากัน

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

4


ข้อ ค.

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

5


ข้อ ข.

CH4 เป็นพันธะมีขั้ว เเต่เเรงโมเลกุลไม่มีขั้ว เนื่องจากมีลักษณะฌโมเลกุลเเบบ AX4E0 จึงเป็นโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว ยึดเหนี่ยวด้วยเเรงเเผ่กระจาย

ทฤษฎี VSEPR เเละความมีขั้วของโมเลกุลโควาเลนต์

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

6


ข้อ จ.

1 ผิด เพราะ ClO3-* เป็นรูปร่างโมเลกุลเเบบพีระมิดฐานสามเหลี่ยม หรือ AX3E1 3 ผิด เพราะ SO4 มีคู่อิเล็กตรอนโโเดี่ยวเพียงเเค่ 1 จึงสามารถอนุมานได้ว่าไม่มีข้อถูก เพราะไม่มีช้อยส์ 2 ถูกต้องเท่านั้น(2อาจจะผิดได้)

ทฤษฎี VSEPR ของสารประกอบโควาเลนต์

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

7


ข้อ ง.

ข้อ 1 ถูกต้อง เป็นพันธะไอออนิก ข้อ 2 ถูกต้อง เพราะ A กับ D เป็นพันธะไออนิก เเละ C กับ D เป็นพันธะโควาเลนต์จริง จึงอนุมานได้ว่า 1 เเละ 2 ถูก เพราะไม่มีช้อยส์ถูกทุกข้อ(3อาจถูกได้)

ใช้ความรู้เรื่อง สารประกอบไออนิก เเละสารประกอบโควาเลนต์ รวมถึงจุดเดือด/การนำไฟฟ้าของธาตุต่างๆ Ionic - อโลหะ + โลหะ Covalent - อโลหะ + อโลหะ

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

8


ข้อ ข.

มวลอะตอมเฉลี่ย = ผลต่างของมวลโมเลกุลในเเต่ละไอโซโทป*ร้อยละในธรรมชาติ/100

มวลอะตอมเฉลี่ย = ผลต่างของมวลโมเลกุลในเเต่ละไอโซโทป*ร้อยละในธรรมชาติ/100

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

9


ข้อ ข.

เนื่องจาก Mol คือมวล/มวลโมเลกุล โมลของ H2O 1.5 โมเลกุล จึงทำให้มี H2O 1.5 โมลอะตอมนั้นเอง

M = g/mw

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

10


ข้อ ง.

จากความหนาเเน่น = มวล/ปริมาตร เเละ Molar = Mol/Litre จึงสามารถได้ว่าความเข้มข้นของสารละลาย NaOH คือ 0.5 Mol/Dm^3

M(Molar) คือ โมล/ลิตร

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

11


ข้อ ข.

M = mol/0.05 ลิตร ซึ่ง Mol คือ มวล/มวลโมเลกุล เเละมวลคือ 47.5 จึงได้สารที่มีมวลโมเลกุลคือ 95 ซึ่งก็คือ MgCl2

M = โมล/ลิตร Mol = g/mw

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

12


ข้อ ค.

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

13


ข้อ ค.

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

14


5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

15


68.25 ลูกบากศ์เซนติเมตร

จากกฎของชาร์ลส์ ที่ปริมาตร เเปรผันตาม อุณหภูมิ หรือ V1/T1 = V2/T2 ปริมาตร 1 คือ 0.0795 ลิตร ที่อุณหภูมิ 318 เคลวิน เเละ ปริมาตร X ที่อุณหภูมิ 273 เคลวิน

จากกฎของชาร์ลส์ ที่ปริมาตร เเปรผันตาม อุณหภูมิ หรือ P1/T1 = P2/T2

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

16


ไม่มีข้อถูก เพราะไม่เป็นไปตามกำรวมเเก๊ส ที่ ปริมาตรเเละความดันเเปรผันตามอุณหภูมิ เเต่ปริมาตรเเปรผกผันกับความดัน

จากกฎรวมเเก๊ส หรือ PV = nRT

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

17


ข้อ ค.

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

18


ข้อ ก.

เนื่องจากปฎิกิริยา 1 เเละ 2 เกิดเเก๊สไฮโดรเจนเเละออกซิเจนขึ้นตามลำดับ การเลือกติดตามปริมาตรเเก๊สจึงดีที่สุด เเละ ปฎิกิริยา 3 เกิดตะกอน CaCo3 ขึ้น จึงควรสังเกตุจากปริมาณตะกอน

การสังเกตุการเปลี่ยนเเปลงของปฎิกิรยาเคมี ควรเลือกติดตามจากลักษณะที่เห็นชัดง่ายที่สุด เช่น สี ตะกอน ปริมาตรเเก๊ส เป็นต้น

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

19


ข้อ ค.

การใส่ตัวเร่งปฎิกิริยา ทำให้พลังงานก่อกัมมันต์มีค่าน้อยลง ส่งผลให้สารตั้งต้นใเกิดได้เร็วขึ้น เเละสารตั้งต้นที่มีพลังงานจลน์น้อยสามารถเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ได้ จึงทำให้สารผลิตภัณฑืมีพลังงานจลน์น้อยกว่าสารตั้งต้น

ตัวเร่งปฎิกิริยา(Catalyst) เป็นสารที่เมื่อใส่ในปฎิกิริยาจะลดพลังงานก่อกัมมันต์(Activation energy)ลง

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

20


ข้อ ง.

เนื่องจาก อัตราการเปลี่ยนเเปลงของสารตั้งต้นเเละสารผลิตภัณฑ์ไม่เท่ากัน สังเกตุได้จากเลขโมลของสารตั้งต้นเเละสารผลิตภัณฑ์ เเละค่าคงที่สมดุลที่มากกว่า 0 อัตราการเกิดปฎิกิริยาไปข้างหน้าจึงมากกว่าอัตราการเกิดปฎิกิริยาย้อนกลับ

ตามหลักการคำนวณอัตราการเกิดปฎิกิรยาเคมี ที่ อัตราการเกิดปฎิกิริยา = ปริมาณสารที่เปลี่ยน/เวลา ที่อัตราส่วนโมลเป็น 1 ต่อ 1

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

ผลคะแนน 35.5 เต็ม 100

แท๊ก หลักคิด
แท๊ก อธิบาย
แท๊ก ภาษา