ตรวจข้อสอบ > เอชิราฐิกานต์ พิลาศเอมอร > วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (เชิงวิทยาศาสตร์การแพทย์) | Biological Sciences > Part 2 > ตรวจ

ใช้เวลาสอบ 142 นาที

Back

# คำถาม คำตอบ ถูก / ผิด สาเหตุ/ขยายความ ทฤษฎีหลักคิด/อ้างอิงในการตอบ คะแนนเต็ม ให้คะแนน
1


จงใช้แผนภูมิแท่งประกอบการตอบคำถามข้อที่ 1-2 แผนภูมิแท่งแสดงปริมาณสารอาหารในกระแสเลือดก่อนและหลังผ่านเข้าสู่อวัยวะ A และ อวัยวะ B ตามลำดับ 1. อวัยวะ A และ B มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นอวัยวะใดตามลำดับ

1. ไต ปอด

ปอดแลกเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์กับอากาศที่หายใจ ทำให้ CO² ลดลงตรงกับB ปอดคืออวัยวะหนึ่งที่สำคัญในร่างกาย ซึ่งใช้ในการหายใจและหน้าที่หลักคือ การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ระบบเลือดในร่างกาย หน้าที่สำคัญของไต คือ การสร้างปัสสาวะซึ่งจะช่วยขับของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญสารอาหารต่างๆ และช่วยในการรักษาความปกติของน้ำและเกลือแร่ของร่างกายนอกจากนั้นไตยังมีหน้าที่ในการสร้างสารที่ควบคุมความดันโลหิต และสารที่ช่วยกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

2


สาร x น่าจะเป็นสารชีวโมเลกุลประเภทใด

5. วิตามิน

วิตามินละลายในน้ำ และไตทำหน้าที่ขับน้ำส่วนเกินออก ไตทำหน้าที่ขับถ่ายของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญอาหารประเภทโปรตีนออกจากร่างกาย ของเสียประเภทนี้ ได้แก่ ยูเรีย ครีอะตินีน กรดยูริก และสารประกอบไนโตรเจนอื่นๆ 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

3


ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ ประกอบการตอบคำถามข้อที่ 3-4 โมเดลจำลองการหายใจเข้าและหายใจออกของมนุษย์ ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดยใช้อุปกรณ์ดังนี้ 1. ขวดน้ำขนาด 1.5 ลิตร พร้อมฝาเจาะรู ตัดครึ่ง นำมาใช้เฉพาะส่วนบน 2. หลอด 2 อัน 3. ลูกโป่ง 2 ลูก 4. แผ่นยาง 1 แผ่น นำอุปกรณ์ทั้งหมดประกอบกัน โดยต่อหลอดกับลูกโป่งแล้วใส่ลงในขวดน้ำตัดครึ่ง จากนั้นปิดฝาด้านบนและใช้แผ่นยางขึงด้านล่างบริเวณรอยตัดครึ่งให้ตึง จากภาพ อุปกรณ์แต่ละชนิดจำลองอวัยวะใดในร่างกาย

การแผ่นยางทำให้มีปริมาตรอากาศเพิ่มขึ้นเหมือนการหายใจเข้ากระบังลมจะหดตัวให้อากาศเข้าสู่ปอดมากขึ้น และหายใจออกจะคลายตัวลง การหายใจ การหายใจเข้า (INSPIRATION) กะบังลมจะเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทำให้ปริมาตรของช่องอกเพิ่มขึ้น ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่ำลงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายนอกจึงเคลื่อนเข้าสู่จมูก หลอดลม และไปยังถุงลมปอด การหายใจออก (EXPIRATION) กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง ทำให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จากถุงลมปอดไปสู่หลอดลมและออกทางจมูก 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

4


ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ ประกอบการตอบคำถามข้อที่ 3-4 โมเดลจำลองการหายใจเข้าและหายใจออกของมนุษย์ ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดยใช้อุปกรณ์ดังนี้ 1. ขวดน้ำขนาด 1.5 ลิตร พร้อมฝาเจาะรู ตัดครึ่ง นำมาใช้เฉพาะส่วนบน 2. หลอด 2 อัน 3. ลูกโป่ง 2 ลูก 4. แผ่นยาง 1 แผ่น นำอุปกรณ์ทั้งหมดประกอบกัน โดยต่อหลอดกับลูกโป่งแล้วใส่ลงในขวดน้ำตัดครึ่ง จากนั้นปิดฝาด้านบนและใช้แผ่นยางขึงด้านล่างบริเวณรอยตัดครึ่งให้ตึง จากภาพ เมื่อใช้โมเดลเพื่อสาธิตการหายใจเข้า อุปกรณ์ต่าง ๆ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

ดึงแผ่นยางลงทำให้ลูกโป่งพองขึ้น ปล่อยแผ่นยางทำให้ลูกโป่งแฟบลง การหายใจเข้า (INSPIRATION) กะบังลมจะเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทำให้ปริมาตรของช่องอกเพิ่มขึ้น ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่ำลงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายนอกจึงเคลื่อนเข้าสู่จมูก หลอดลม และไปยังถุงลมปอด การหายใออก (EXPIRATION) กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง ทำให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จากถุงลมปอดไปสู่หลอดลมและออกทางจมูก 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

5


โรคถุงลมโป่งพองเกิดจากสาเหตุใดเป็นหลัก ส่งผลอย่างไรต่อระบบทางเดินหายใจของมนุษย์ หากต้องการทำโมเดลเพื่อจำลองระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง จะต้องมีการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์อย่างไร

สาเหตุหลักเกิดจากการสูบบุหรี่ ทำให้ถุงลมภายในปอดมีการขยายตัวมากขึ้นกว่าปกติ ให้ภายในมีโฟมหรือวัตถุข้างในลูกโป่ง ใส่วัตถุข้างในเหมือนถุงลมที่ขนาดพองขึ้นกว่าปกติ โรคถุงลมโป่งพอง หมายถึง ภาวะที่ถุงลมเสียความยืดหยุ่นและเปราะง่ายอาจมีการแตกทะลุทำให้ถุงลมสูญเสียหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนอากาศทำให้ลมที่จะเข้าปอดน้อยกว่าปกติรวมทั้งการแลกเปลี่ยนออกซิเจนก็ลดน้อยลงด้วยซึ่งโดยปกติก๊าซออกซิเจนในถุงลมจะซึมผ่านผนังถุงลม และหลอดเลือดเข้าไปในกระแสเลือด ในขณะที่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในกระแสเลือดก็จะซึมกลับออกมาในถุงลม 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

6


ใช้พันธุประวัติต่อไปนี้ตอบคำถามข้อที่ 6-9 การส่งต่อลักษณะการมีลักยิ้มในครอบครัวหนึ่งเป็นไปดังแผนผังพันธุประวัติด้านล่าง โดยสัญลักษณ์ต่าง ๆ มีความหมายดังต่อไปนี้ ลักษณะการมีลักยิ้มมีรูปแบบการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมอย่างไร

4. ส่งผ่านอัลลีลด้อยบนโครโมโซมร่างกาย

แอลลีนทำหน้าที่ควบคุมลักษณะเดียวกัน แอลลีลจะ เหมือนหรือต่างกันก็ได้ » แอลลีลเด่น (Dominant Allele) [แอลลีล A] » แอลลีลด้อย (Recessive Allele) [แอลลีล a] แอลลีนทำหน้าที่ควบคุมลักษณะเดียวกัน แอลลีลจะ เหมือนหรือต่างกันก็ได้ » แอลลีลเด่น (Dominant Allele) [แอลลีล A] » แอลลีลด้อย (Recessive Allele) [แอลลีล a] 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

7


ใช้พันธุประวัติต่อไปนี้ตอบคำถามข้อที่ 6-9 การส่งต่อลักษณะการมีลักยิ้มในครอบครัวหนึ่งเป็นไปดังแผนผังพันธุประวัติด้านล่าง โดยสัญลักษณ์ต่าง ๆ มีความหมายดังต่อไปนี้ หากกำหนดให้ A แทนอัลลีลแสดงลักษณะมีลักยิ้ม และ a แทนอัลลีลแสดงลักษณะไม่มีลักยิ้ม บุคคลใดในพันธุประวัติที่มีความเป็นไปได้ที่จะมีจีโนไทป์แบบ aa

4. 5, 8, 9

คนที่ไม่มีลักยิ้ม(จีโนไทป์ด้อย) จะมีจีโนไทป์เป็น aa เท่านั้น จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึง รูปแบบของคู่ยีน (คู่แอลลีล) หรือกลุ่มยีนที่ควบคุมฟีโนไทป์ ต่างๆ เช่น จีโนไทป์ที่ควบคุมความยาวของลำต้นถั่ว มีได้ 3 แบบ ได้แก่ TT, Tt และ tt 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

8


บุคคลใดในพันธุประวัติที่น่าจะมีจีโนไทป์แบบ Heterozygous ของลักษณะการมีลักยิ้ม (เขียนตอบ)

1,4,6,7,10 มีลักษณะเป็นพันทาง จึงปรากฏลักษณะเด่น แต่มีคุณสมบัติด้อยจากพันธุกรรมที่ไม่แสดงออก Heterozygous เป็นชื่อเรียกพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่แอลลีลของลักษณะใดๆ ที่มาเข้าคู่กัน มีลักษณะต่างกัน คือ มีแค่ยีนเด่นคู่กับยีนด้อย (Aa) 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

9


ความน่าจะเป็นของครอบครัวนี้ที่บุคคลที่ 5 และ 6 จะมีลูกคนถัดไปเป็นลูกชายที่มีลักยิ้มมีค่าเท่าไร

2. 0.5

มีโอกาศ50%ที่ลูกชายจะมีลักยิ้ม ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเด่นเป็นไปไม่เต็ม 100% ทั้งนี้เกิดจากการทำงานของยีนเด่นร่วมกับยีนด้อย เพราะยีนเด่นไม่สามารถข่มการแสดงออกของยีนด้อยได้100% จึงทำ ให้จีโนไทป์ที่เป็นเฮเทอโรไซกัสมีลักษณะค่อนไปทางโฮโมไซกัสของลักษณะเด่น 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

10


ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ ในการตอบคำถามข้อ 10 - 12 กำหนดให้ สีขนของกระต่ายถูกควบคุมด้วยหลายอัลลีลบนโครโมโซมร่างกาย โดยมีรูปแบบการแสดงออกดังต่อไปนี้ หากนำกระต่ายสีเทาเข้มที่มีอัลลีลควบคุมสีขนแบบชินชิลลาผสมกับกระต่ายสีขาว กระต่ายรุ่นลูกรุ่นที่ 1 จะมีโอกาสมีสีใดได้บ้าง

5. สีชินชิลลา 50% สีเทาเข้ม 50%

จีโนไทป์รุ่นลูก Cc Cc cchdc cchdc ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเด่นเป็นไปไม่เต็ม 100% ทั้งนี้เกิดจากการทำงานของยีนเด่นร่วมกับยีนด้อย เพราะยีนเด่นไม่สามารถข่มการแสดงออกของยีนด้อยได้100% จึงทำ ให้จีโนไทป์ที่เป็นเฮเทอโรไซกัสมีลักษณะค่อนไปทางโฮโมไซกัสของลักษณะเด่น 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

11


ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ ในการตอบคำถามข้อ 10 - 12 กำหนดให้ สีขนของกระต่ายถูกควบคุมด้วยหลายอัลลีลบนโครโมโซมร่างกาย โดยมีรูปแบบการแสดงออกดังต่อไปนี้ หากนำกระต่ายสีเทาเข้มผสมกับกระต่ายสีชินชิลลา พบว่ากระต่ายรุ่นลูกมีขนสีเทาเข้มและสีชินชิลลาเหมือนรุ่นพ่อแม่ นอกจากนี้ ยังพบกระต่ายรุ่นลูกที่มีขนสีขาวอีกด้วย จากข้อมูลที่กำหนดให้ จีโนไทป์ของกระต่ายรุ่นพ่อแม่ควรเป็นอย่างไร

3. Cc และ cchdc

พ่อแม่ต้องเป็นพันทางที่มีลักษณะด้อย c ทั้งสองตัว ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเด่นเป็นไปไม่เต็ม 100% ทั้งนี้เกิดจากการทำงานของยีนเด่นร่วมกับยีนด้อย เพราะยีนเด่นไม่สามารถข่มการแสดงออกของยีนด้อยได้100% จึงทำ ให้จีโนไทป์ที่เป็นเฮเทอโรไซกัสมีลักษณะค่อนไปทางโฮโมไซกัสของลักษณะเด่น 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

12


ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ ในการตอบคำถามข้อ 10 - 12 กำหนดให้ สีขนของกระต่ายถูกควบคุมด้วยหลายอัลลีลบนโครโมโซมร่างกาย โดยมีรูปแบบการแสดงออกดังต่อไปนี้ จากข้อมูลในข้อ 11 กระต่ายรุ่นพ่อแม่จะสีขนชนิดใด

4. สีเทาเข้มและสีขาว

Ccchd สีเทา cc สีขาว Ccchd; ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเด่นเป็นไปไม่เต็ม 100% ทั้งนี้เกิดจากการทำงานของยีนเด่นร่วมกับยีนด้อย เพราะยีนเด่นไม่สามารถข่มการแสดงออกของยีนด้อยได้100% จึงทำ ให้จีโนไทป์ที่เป็นเฮเทอโรไซกัสมีลักษณะค่อนไปทางโฮโมไซกัสของลักษณะเด่น 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

13


ในการศึกษาภาวะตาบอดสีเขียวแดงในครอบครัวหนึ่ง พบว่าตาและแม่ มีภาวะตาบอดสี ย่าและยาย เป็นพาหะของภาวะตาบอดสี ส่วนคนอื่น ๆ ในครอบครัวมีสายตาปกติ หากพ่อและแม่มีลูกทั้งหมด 3 คน ประกอบด้วย พี่ชายคนโต น้องสาวคนกลาง และน้องสาวคนเล็ก จงเขียนพันธุประวัติแสดงการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของครอบครัวนี้ พร้อมให้เหตุผลประกอบการเลือกใช้สัญลักษณ์ (เขียนตอบ) กำหนดให้ใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ดังนี้

Aa-ปู่ ยาย ลูกทุกคน AA-พ่อ aa- แม่ ตา ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเด่นเป็นไปไม่เต็ม 100% ทั้งนี้เกิดจากการทำงานของยีนเด่นร่วมกับยีนด้อย เพราะยีนเด่นไม่สามารถข่มการแสดงออกของยีนด้อยได้100% จึงทำ ให้จีโนไทป์ที่เป็นเฮเทอโรไซกัสมีลักษณะค่อนไปทางโฮโมไซกัสของลักษณะเด่น ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเด่นเป็นไปไม่เต็ม 100% ทั้งนี้เกิดจากการทำงานของยีนเด่นร่วมกับยีนด้อย เพราะยีนเด่นไม่สามารถข่มการแสดงออกของยีนด้อยได้100% จึงทำ ให้จีโนไทป์ที่เป็นเฮเทอโรไซกัสมีลักษณะค่อนไปทางโฮโมไซกัสของลักษณะเด่น 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

14


จงคำนวณโอกาสที่พ่อและแม่จะมีคนที่ 4 เป็นลูกชายตาบอดสี (ตอบในรูปแบบทศนิยม) (เขียนตอบ) ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ในการตอบคำถามข้อ 15-16 ในการทดสอบโปรตีนจากตัวอย่างอาหารจำนวน 4 ตัวอย่าง มีรายละเอียดและผลการทดสอบดังนี้

0 ลูกทุกคนได้รับทั้งลักษณะเด่นและด้อย เป็นพันทางทุกคน หรือเป็นลักษณะเด่นสมบูรณ์ ลักษณะเด่นสมบูรณ์ (Complete Dominance) หมายถึง การแสดงออกของลักษณะเด่นที่เกิดจากการที่ยีน เด่นสามารถข่มการแสดงออกของยีนด้อยได้ 100% ทำให้จีโนไทป์ที่เป็นโฮโมไซกัสยีนของลักษณะเด่น (Homozygous Dominance) และเฮเทอโรไซกัสยีนมีการแสดงออกของฟีโนไทป์ที่เหมือนกัน 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

15


การแปลผลการทดสอบในตัวอย่างใดมีความผิดพลาด

2. ตัวอย่างที่ 2 เท่านั้น

สารละลายได้สีม่วงควรแปรผลว่ามีโปรตีน การทดสอบโปรตีนสามารถทดสอบได้ด้วยปฏิกิริยาไบยูเรต โดยให้โปรตีนทำปฏิกิริยากับสารละลาย CuSO4ในสารละลายเบส NaOH หรือ KOH จะได้สารสีน้ำเงินม่วง 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

16


ตัวอย่างที่ 2 มีความเป็นไปได้ว่าจะเป็นอาหารชนิดใด

1. อกไก่ปั่น น้ำเต้าหู้

เป็นโปรตีน การทดสอบโปรตีนสามารถทดสอบได้ด้วยปฏิกิริยาไบยูเรต โดยให้โปรตีนทำปฏิกิริยากับสารละลาย CuSO4ในสารละลายเบส NaOH หรือ KOH จะได้สารสีน้ำเงินม่วง 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

17


ในการทดสอบตัวอย่างสารไม่ทราบชนิดครั้งหนึ่ง มีรายละเอียดการทดสอบและผลการทดสอบดังนี้ สารตัวอย่างในแต่ละหลอด ประกอบไปด้วยสารชีวโมเลกุลประเภทใดบ้าง จงอธิบายและให้เหตุผลประกอบ

หลอด1-มีน้ำตาล หลอด2-มีไขมัน มีโปรตีน หลอด3-มีน้ำตาล มีโปรตีน มีแป้ง หลอด4-มีโปรตีน การทดสอบโปรตีนสามารถทดสอบได้ด้วยปฏิกิริยาไบยูเรต โดยให้โปรตีนทำปฏิกิริยากับสารละลาย CuSO4ในสารละลายเบส NaOH หรือ KOH จะได้สารสีน้ำเงินม่วง Benedict's test เป็นวิธีทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (monosaccharide) และน้ำตาลโมเลกุลคู่ (disaccharide) ที่เป็นน้ำตาลรีดิวซิงทุกชนิด ยกเว้น น้ำตาลซูโครส สารละลายไอโอดีน : มีสีน้าตาลเหลือง ใช้ทดสอบ : แป้ง วิธีการทดสอบ : หยดสารละลายไอโอดีน 1 หยดลงใน สารละลายที่ต้องการทดสอบ ผลการทดสอบ : ถ้าน้าไปทดสอบสารใด ๆ แล้วเปลี่ยนจากสีน้าตาลเหลือง เป็นสีน้าเงินเข้มหรือสีน้าเงินปนม่วง แสดงว่ามีแป้ง หยดน้ำมันพืชลงบนกระดาษขาว ขนาด 2 ตารางเซนติเมตร แล้วใช้มือถูไปมา จากนั้นยกกระดาษขึ้นให้แสงผ่าน สังเกตว่าโปร่งแสงหรือไม่ ผลการทดสอบ : หากนำไปทดสอบสารใด ๆ แล้วกระดาษขาวโปร่งแสง แสดงว่าสารนั้นมีไขมัน การทดสอบโปรตีนสามารถทดสอบได้ด้วยปฏิกิริยาไบยูเรต โดยให้โปรตีนทำปฏิกิริยากับสารละลาย CuSO4ในสารละลายเบส NaOH หรือ KOH จะได้สารสีน้ำเงินม่วง Benedict's test เป็นวิธีทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (monosaccharide) และน้ำตาลโมเลกุลคู่ (disaccharide) ที่เป็นน้ำตาลรีดิวซิงทุกชนิด ยกเว้น น้ำตาลซูโครส สารละลายไอโอดีน : มีสีน้าตาลเหลือง ใช้ทดสอบ : แป้ง วิธีการทดสอบ : หยดสารละลายไอโอดีน 1 หยดลงใน สารละลายที่ต้องการทดสอบ ผลการทดสอบ : ถ้าน้าไปทดสอบสารใด ๆ แล้วเปลี่ยนจากสีน้าตาลเหลือง เป็นสีน้าเงินเข้มหรือสีน้าเงินปนม่วง แสดงว่ามีแป้ง หยดน้ำมันพืชลงบนกระดาษขาว ขนาด 2 ตารางเซนติเมตร แล้วใช้มือถูไปมา จากนั้นยกกระดาษขึ้นให้แสงผ่าน สังเกตว่าโปร่งแสงหรือไม่ ผลการทดสอบ : หากนำไปทดสอบสารใด ๆ แล้วกระดาษขาวโปร่งแสง แสดงว่าสารนั้นมีไขมัน 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

18


จากข้อมูลในข้อ 17 ตัวอย่างในแต่ละหลอดมีความเป็นไปได้ตามตัวเลือกในข้อใดมากที่สุด

3

ตรงกับการทดสอบสาร การทดสอบโปรตีนสามารถทดสอบได้ด้วยปฏิกิริยาไบยูเรต โดยให้โปรตีนทำปฏิกิริยากับสารละลาย CuSO4ในสารละลายเบส NaOH หรือ KOH จะได้สารสีน้ำเงินม่วง Benedict's test เป็นวิธีทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (monosaccharide) และน้ำตาลโมเลกุลคู่ (disaccharide) ที่เป็นน้ำตาลรีดิวซิงทุกชนิด ยกเว้น น้ำตาลซูโครส สารละลายไอโอดีน : มีสีน้าตาลเหลือง ใช้ทดสอบ : แป้ง วิธีการทดสอบ : หยดสารละลายไอโอดีน 1 หยดลงใน สารละลายที่ต้องการทดสอบ ผลการทดสอบ : ถ้าน้าไปทดสอบสารใด ๆ แล้วเปลี่ยนจากสีน้าตาลเหลือง เป็นสีน้าเงินเข้มหรือสีน้าเงินปนม่วง แสดงว่ามีแป้ง หยดน้ำมันพืชลงบนกระดาษขาว ขนาด 2 ตารางเซนติเมตร แล้วใช้มือถูไปมา จากนั้นยกกระดาษขึ้นให้แสงผ่าน สังเกตว่าโปร่งแสงหรือไม่ ผลการทดสอบ : หากนำไปทดสอบสารใด ๆ แล้วกระดาษขาวโปร่งแสง แสดงว่าสารนั้นมีไขมัน 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

19


ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ในการตอบคำถามข้อ 19-20 ในการทดสอบการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ในระบบทางเดินอาหาร มีการจัดเตรียมและผสมสารต่าง ๆ ดังนี้ โดยหลอดทดลองทุกหลอดถูกควบคุมให้มีอุณหภูมิและ pH ในสภาวะที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์แต่ละชนิด ปฏิกิริยาสามารถเกิดขึ้นได้ในหลอดใดบ้าง และผลิตภัณฑ์ที่ได้คืออะไร (อาจมีมากกว่า 1 คำตอบ) (เขียนตอบ)

หลอด5, กรดไขมันและกลีเซอรอล น้ำจะช่วยทำให้ไขมันแตกตัว และไลเปสจะย่อยไขมันเป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล กระบวนการสลาย ออกไป ไขมันนั้นเมื่อถูกย่อยจะได้เป็นกรดไขมันกับกลีเซอรอล กรดไขมันต้องถูกออกซิเดชัน 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

20


ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ในการตอบคำถามข้อ 19-20 ในการทดสอบการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ในระบบทางเดินอาหาร มีการจัดเตรียมและผสมสารต่าง ๆ ดังนี้ โดยหลอดทดลองทุกหลอดถูกควบคุมให้มีอุณหภูมิและ pH ในสภาวะที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์แต่ละชนิด หากเพิ่มชุดการทดลองในหลอดทดลองที่ 6 ซึ่งประกอบด้วยสารผสมระหว่างเปปซินและโปรตีน โดยควบคุมปฏิกิริยาภายใต้อุณหภูมิ 37°C pH 7 ปฏิกิริยาจะสามารถเกิดขึ้นได้หรือไม่ อย่างไร จงแสดงเหตุผลประกอบการอธิบายคำตอบ

ไม่เกิดการย่อย Ph ต้องต่ำกว่านี้ เอนไซม์เพปซินจะย่อยโปรตีนที่เสียสภาพแล้วให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลง ได้เป็นโปรตีโอส (proteose) และเพปโทน (peptone) ซึ่งจัดเป็นสายพอลิเพปไทด์ที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ เพปซินเป็นเอนไซม์ชนิดเอนโดเพปทิเดส (endopeptidase) ซึ่งจะ ไฮโดรไลซ์พันธะเพปไทด์ที่อยู่ด้านในของสายพอลิเพปไทด์ และมีความเฉพาะเจาะจงกับพันธะเพปไทด์ที่เกิดจากกรดแอมิโน เปปซินถูกหลั่งออกมาในกระเพาะอาหารในรูปของ pepsinogen ซึ่งเป็น proenzyme โดยจะเปลี่ยนเป็น pepsin ในสภาวะที่ pH เท่ากับ 2 หรือต่ำกว่า ซึ่งในกระเพาะอาหาร จะมีกรดไฮโดรคลอริกถูกหลั่งออกมา ทำให้เกิดสภาวะที่เป็นกรดขึ้น proenzyme และ zymogen ตัวอื่นๆ ต้องอาศัยเอนไซม์อื่นมาย่อย จึงกลายเป็นเอนไซม์ที่ทำงานได้ดี 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

ผลคะแนน 85 เต็ม 200

แท๊ก หลักคิด
แท๊ก อธิบาย
แท๊ก ภาษา