ตรวจข้อสอบ > สายบุญ ปานคำ > การแข่งขันและทดสอบความถนัดทางการแพทย์ | มัธยมศึกษาตอนต้น > Part 2 > ตรวจ

ใช้เวลาสอบ 24 นาที

Back

# คำถาม คำตอบ ถูก / ผิด สาเหตุ/ขยายความ ทฤษฎีหลักคิด/อ้างอิงในการตอบ คะแนนเต็ม ให้คะแนน
1


ข้อใดเกี่ยวข้องกับ Vaccine characteristics.

5. ถูกทุกข้อ

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

2


จากบทความที่ให้ไปเรื่อง Biological process อยากทราบว่างานตีพิมพ์ของ Hung et al. (2020) เกี่ยวกับเรื่องใด

1. DNA resonance code

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

3


Stem cell แบบใดที่ใช้ในงานวิจัยจากบทความที่ให้ไป

1. PCOS

เซลล์ต้นกำเนิดแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ เซลล์ต้นกำเนิดที่แยกได้จากตัวอ่อน และเซลล์ต้นกำเนิดที่แยกได้จากสิ่งมีชีวิตโตเต็มวัย หรือจากเนื้อเยื่อ คุณสมบัติของเซลล์ทั้ง 2 ชนิดมีความแตกต่างกัน เซลล์ต้นกำเนิดจากตัวอ่อนสามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ได้เกือบทุกชนิดในร่างกาย ยกเว้นเซลล์จากรก ส่วนเซลล์ต้นกำเนิดจากตัวเต็มวัยสามารถเปลี่ยนไปเป็นเซลล์เฉพาะในเนื้อเยื่อนั้นๆ เช่น สเต็มเซลล์ของเลือด สามารถเปลี่ยนเป็นเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด 5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

4


จากบทความเรื่อง Metrology ใช้ใน Environment measurementในเรื่องใด

2. Nutrition

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

5


จากบทความเรื่อง Stem cell ที่ให้ไป DMD progress กระทบเรื่องใดน้อยที่สุด

2. Reactive oxygen species

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

6


จากบทความที่ให้ไปเรื่อง Biological process อยากทราบว่างานตีพิมพ์ของ Hung et al. (2020) เกี่ยวข้องกับสายงานใด

1. Chemistry and physics

5

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

7


Collision theory สามารถนำมาใช้ในทางการแพทย์ได้อย่างไร

ทฤษฎีการปะทะ 1. ทิศทางของการชน (orientation of collision) 2. พลังงานของการชน (energy of collision) 1. ทิศทางของการชน ตัวอย่าง ปฏิกิริยาระหว่างโพแทสเซียมอะตอม (K) กับเมทิลไอโอไดด์ (CH3I) ได้เป็นโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI) และอนุมูลเมทิล (CH3) 2. พลังงานของการชน อนุภาคชนกันในทิศทางที่เหมาะสมแล้วก็ยังไม่เพียงพอ สิ่งที่สำคัญมากกว่านั้นก็คือ พลังงาน เพราะถึงแม้ว่าอนุภาคจะชนกันในทิศทางที่ถูกต้องแต่พลังงานของอนุภาคมีไม่มากเพียงพอ ก็ไม่อาจที่จะเกิดปฏิกิริยาได้ เราได้ทราบมาแล้วว่าการเกิดปฏิกิริยาเคมีย่อมเกี่ยวข้องกับการสลายพันธะเดิมและสร้างพันธะใหม่ ซึ่งการสลายพันธะเดิมต้องใช้พลังงานอย่างแน่นอน พลังงานในที่นี้ก็คือพลังงานที่เราเรียกว่า พลังงานก่อกัมมันต์ (activation energy) นั่นเอง พลังงานก่อกัมมันต์เป็นพลังงานรวมเมื่อโมเลกุลชนกัน ไม่ใช่พลังงานของแต่ละโมเลกุล ดังนั้น โมเลกุลที่มีพลังงานต่ำกว่า Ea อาจชนกันแล้วมีพลังงานถึง Ea ได้ อนุภาคในพื้นที่ใต้กราฟทางด้านขวาของพลังงานก่อกัมมันต์เท่านั้นที่มีโอกาสชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาเพราะเป็นอนุภาคที่มีพลังงานสูง ส่วนอนุภาคในพื้นที่ใต้กราฟทางด้านซ้ายของพลังงานก่อกัมมันต์ซึ่งเป็นอนุภาคส่วนใหญ่จะมีโอกาสชนกันได้แต่ไม่มีพลังงานมากพอที่จะเกิดปฏิกิริยา 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

8


จากบทความเรื่อง Metrology ใช้ใน Chemical measurement เรื่องใด

การวัดที่ไม่ได้มาตรฐาน ค่าที่ได้ก็ไร้ความหมาย” ย้อนกลับไปในปี 2900 ก่อนคริสตศักราช บันทึกแรกของมาตรฐานการวัดเกิดขึ้นในราชวงศ์อียิปต์ เมื่อมีการสลักสร้างหินแกรนิตสีดำให้มีความยาวหนึ่งศอก (Cubit) โดยใช้ความยาวของแขนจากศอกไปจนถึงปลายนิ้วกลางของฟาโรห์เป็นเกณฑ์ ซึ่งภายหลังคนงานก่อสร้างนำไปใช้ก็ประสบความสำเร็จในการสร้างพีระมิดที่มีความยาวฐานผิดเพี้ยนน้อยกว่า 0.05 เปอร์เซ็นต์ยิ่งเมื่อยุคสมัยมีการพัฒนา มาตรฐานการวัดอื่นๆ ก็ยิ่งเกิดขึ้นด้วยวิธีการที่แตกต่างกันไป อย่างในโรมันและกรีกที่มีมาตรฐานการวัดเกิดขึ้นมากมายตามแต่ละท้องที่ แต่ด้วยความยากลำบากในการเทียบกัน และภายหลังการล่มสลายของจักรวรรดิและเข้าสู่ยุคมืดก็ทำให้มาตรฐานเหล่านั้นเลือนหายไปตามกาลเวลา ในคริสตศักราช 1996 อังกฤษได้จัดตั้งคณะศาลเพื่อกำหนดมาตรฐานการวัดความยาว และได้ออกกฎหมายเกี่ยวกับการวัดซึ่งประกอบไปด้วยการตวงสุราจำพวกไวน์และเบียร์ในปี 1215 สำหรับมาตรฐานการวัดในปัจจุบันมีรากฐานมาจากแรงกระตุ้นทางการเมืองในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่ต้องการให้หน่วยวัดทั่วทั้งประเทศสอดคล้องกัน ดังนั้นมาตรฐานการวัดความยาวจากวัสดุธรรมชาติจึงถือกำเนิดขึ้น และในเดือนมีนาคม คริสตศักราช 1791 นั้นเองที่หน่วยวัด “เมตร” ถือกำเนิดและนำไปสู่การสร้างระบบเมตริกด้วยเลขฐานสิบในปี 1795 ซึ่งหลายประเทศก็ได้นำเอาระบบเมตริกนี้ไปใช้ในช่วงระหว่างปี 1795 ถึง 1875 ด้วยเหตุนี้เองเพื่อให้แน่ใจได้ว่าทุกประเทศทั่วโลกจะมีมาตรฐานการวัดที่ตรงกันจึงได้มีการจัดตั้งสำนักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ (BIPM) ตามสนธิสัญญาเมตริกขึ้น ซึ่งถึงแม้ว่าสำนักงานดังกล่าวเดิมทีแล้ว ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อกำหนดหน่วยวัดและมาตรฐานการวัดให้เป็นสากล แต่ขอบเขตการทำงานในภายหลังก็ขยายไปจนถึงมาตรฐานการวัดค่ากระแสไฟฟ้า ความเข้มของแสง และปริมาณการแผ่รังสีไอออไนซ์ และในปีคริสตศักราชที่ 1960 ระบบเมตริกก็ถูกพัฒนาไปเป็นระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (SI) ด้วยมติที่ประชุมใหญ่ว่าด้วยการชั่งตวงวัดครั้งที่ 11 มาตรวิทยาเชิงอุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้การวัดกับอุตสาหกรรมกระบวนการผลิต สร้างความมั่นใจว่าเครื่องมือวัดที่ใช้นั้นมีความเหมาะสม มีการควบคุมคุณภาพและการสอบเทียบเครื่องมือวัดอย่างถูกต้อง เนื่องจากประสิทธิภาพและความถูกต้องของการวัดนั้นจะส่งผลโดยตรงต่อมูลค่าและคุณภาพของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงต้นทุนการผลิต อีกทั้งมาตรวิทยาสาขานี้ยังนับเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกกรรม และยังเป็นตัวบ่งชี้ถึงสภาพเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆอีกด้วย ทั้งนี้การยอมรับความสามารถทางมาตรวิทยาในอุตสาหกรรมนั้น สามารถเกิดขึ้นได้จากสามวิธีหลัก อันได้แก่ การปฎิบัติตามข้อตกลงต่างๆ ที่มีการยอมรับร่วมกัน การได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือการตรวจประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ (Peer review) 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

9


Hydrogen bonds and other non-covalent interaction สามารถนำมาใช้ในเรื่องการทำยาอย่างไร

เกิดจากอะตอม 2 อะตอมมีการใช้อิเลกตรอนวงนอกสุดหรือ valence electron ร่วมกันเพื่อ เพื่อให้valence electron ครบ 8 ตามกฎ octet (ยกเว้นไฮโดรเจนที่ครบ 2) อะตอมที่เกิดพันธะดังกล่าวจะมีวาเลนซ์อิเล็กตรอนอยู่มากเช่น ธาตุหมู่ VI และหมู่ VII พันธะโควาเลนต์แข็งแรงกว่าพันธะไฮโดรเจน และมีความแข็งแรงพอๆ กับพันธะไอออนิก มักเกิดขึ้นระหว่างอะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีใกล้เคียงกัน ธาตุอโลหะมีแนวโน้มที่จะสร้างพันธะโควาเลนต์มากกว่าธาตุโลหะซึ่งมักสร้างพันธะโลหะ อิเล็กตรอนของธาตุโลหะสามารถเคลื่อนอย่างอิสระส่วนอิเล็กตรอนของธาตุอโลหะไม่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระนัก การใช้อิเล็กตรอนร่วมกันจึงเป็นทางเลือกเดียวในการสร้างพันธะกับธาตุที่มีสมบัติคล้ายๆ กัน ovalent bond เป็นพันธะที่เกิดจากการใช้ electron ร่วมกันของ 2 อะตอม เช่น ก๊าซไฮโดรเจน (H2) ออกซิเจน (O2) น้ำ (H2O) และมีเทน (CH4) เป็นต้น โดยการเเชร์อิเลกตรอนรวมกัน 1 คู่จะเเสดงแขนพันธะ 1 เเขน พันธะโควาเลนต์เเบ่งออกได้เป็น 2 แบบ 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

10


จากบทความที่ให้ไปเรื่อง Biological process อยากทราบว่างานตีพิมพ์ของ Baverstock (2013) เกี่ยวกับเรื่องใด

ค่าดัชนีประสิทธิผลของการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ชุดกิจกรรมปฏิบัติการทดลองกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องสมบัติของธาตุและสารประกอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 มีค่าเท่ากับ0.7411 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น 0. 7411หรือคิดเป็นร้อยละ 74.11 ความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมปฏิบัติการทดลองกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องสมบัติของธาตุและสารประกอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.55, S.D. = 0.60) 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

11


จงสร้างการทดลองที่ใช้ทดสอบอาหารเพื่อดูสารพิษที่เจือปน โดยต้องใช้ทั้ง Physics, Chemistry, Biology, Math ในการทดลอง

10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

12


ให้นักเรียนบอกถึงข้อดีของการมี Interdisciplinary aspects ในเชิงการแพทย์

การส่งเสริมวิถีชีวิตผู้สูงอายุ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยการได้รับความร่วมมือจากนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่โรงเรียนผู้สูงอายุ อบต. และเจ้าหน้าที่รพ.สต.ทุกแห่งที่ให้ความอนุเคราะห์เป็นกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ นอกจากนี้ขอกราบขอบพระคุณ ผศ.ดร.ภก.เมธิน ผดุงกิจ ผศ.ดร.ภญ.ภัทรินทร์ กิตติบุญญาคุณ ผศ.ดร.นงเยาว์ มีเทียน ผศ.ดร.อุไร จำปาวะดี และผศ.ดร.ภญ.สายทิพย์ สุทธิรักษาที่เป็นผู้ช่วยชาญ ตรวจสอบเครื่องมือ ขอบขอบพระคุณผู้ร่วมพัฒนาโปแกรมเสริมสร้างความรอบรู้ฯ คณะกรรมการ พิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ให้คำแนะนำ วิธีการ และข้อเสนอแนะ การดำเนินงานวิจัยในครั้งนี้ งานวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธีอาจารย์เกษม ปังศรีวงศ์ประจําปงบประมาณ 2566 ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

13


จากบทความที่ให้ไปเรื่อง Biological process อยากทราบว่างานตีพิมพ์ของ Blundell (2020) เกี่ยวกับเรื่องใด

10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

14


จากบทความเรื่อง Stem cell จงอธิบาย AI Facilitates High- Dimensional Analysis of Large DMD Datasets

10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

15


X-ray กับ Metrology เกี่ยวข้องกันอย่างไร

ปัจจุบัน มีการนำ รังสีเอกซ์มาใช้ประโยชน์ในการวินิจฉัยโรคให้แก่ผู้ป่วยอย่างกว้างขวาง เนื่องจากภาพถ่ายทาง รังสีช่วยให้แพทย์มองเห็นพยาธิสภาพที่เห็นด้วยตาเปล่าไม่ได้ แต่การได้รับรังสีอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ดังนั้น เพื่อ ป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยได้รับปริมาณรังสีมากเกินความจำ เป็น อันเป็นการเพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายจากรังสี จึงต้องมี มาตรฐานเพื่อดูแลให้ผู้ป่วยได้รับรังสีน้อยที่สุด โดยที่ภาพถ่ายทางรังสียังมีคุณภาพให้แพทย์สามารถทำการวินิจฉัยโรคได้ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เป็นหน่วยงานที่ดำ เนินการตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัย จากการใช้เครื่องเอกซเรย์ในสถานพยาบาลต่างๆ มาตั้งแต่ปี 2509 จนถึงปัจจุบัน ได้ตระหนักถึงประโยชน์และโทษของ การใช้รังสีทางการแพทย์ ดังนั้น เพื่อให้การตรวจสอบคุณภาพเครื่องเอกซเรย์วินิจฉัยเป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ เหมาะสมกับสภาพของเครื่องเอกซเรย์ที่มีอยู่ในประเทศไทย และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล จึงขอประกาศข้อกำ หนด มาตรฐานคุณภาพเครื่องเอกซเรย์วินิจฉัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข โดยให้หน่วยงานในสังกัด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ถือปฏิบัติตามรายละเอียดเอกสารที่แนบท้ายประกาศฉบับนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

16


ให้นักเรียนคิดค้นการทดลองเชิงโมเลกุลที่ใช้ AI เป็นส่วนประกอบในการทดลอง

10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

17


จากบทความที่ให้ไปเรื่อง Biological process อยากทราบว่างานตีพิมพ์ของ Dunker (2002) เกี่ยวกับเรื่องใด

10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

18


จงอธิบายว่าการทำ CRISPR/Cas9 และ การทำ Single cell RNA จะช่วยพัฒนาการรักษาโรค DMD อย่างไร

งานวิจัยสำหรับการรักษาในปัจจุบันเริ่มให้ความสำคัญที่เฉพาะเจาะจงและลงรายละเอียดลึกลงไปในระดับเซลล์ (Cell) และสารพันธุกรรมมากขึ้น หนึ่งในความพยายามที่จะรักษาโรคได้แก่ การดัดแปลงสารพันธุกรรมในร่างกาย ซึ่งก็คือสายของกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก หรือสายดีเอ็นเอ (Deoxyribonucleic acid; DNA) ที่เราคุ้นเคยกันว่าเป็นต้นแบบในการแสดงซึ่งลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตนั่นเอง ให้มีความเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของผู้ป่วยมากขึ้น โดยในผู้ป่วยบางรายมีลำดับของสายดีเอ็นเอที่แตกต่างจากคนปกติทั่วไป โดยอาจจะเป็นตั้งแต่กำเนิด หรือ เกิดการเปลี่ยนแปลงลำดับของสายดีเอ็นเอภายหลัง ได้แก่ โดนรังสีอัลตร้าไวโอเลต (Ultraviolet; UV) ที่เข้มข้นติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน หรือติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น เชื้อไวรัสเอชไอวี (Human immunodeficiency virus; HIV) ซึ่งในกระบวนการเพิ่มจำนวนของเชื้อจะมีการแทรกสายดีเอ็นเอของเชื้อลงไปในสายดีเอ็นเอภายในเซลล์ที่เกี่ยวข้องในระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วย เป็นต้น Barrangou, Rodolphe, and Jennifer A Doudna. 2016. "Applications of CRISPR Technologies in Research and beyond." Nature Biotechnology 34(9): 933–41. http://www.nature.com/doifinder/10.1038/nbt.3659 "CRISPR-Cas9 Based Therapeutics: Not So Fast." 2015. EBioMedicine 2(5): 365. Lander, Eric S. 2016. “The Heroes of CRISPR.” Cell 164(1–2): 18–28. http://dx.doi.org/10.1016/j.cell.2015.12.04 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องแสดงผลลัพธ์ที่น่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็นการดัดแปลงสายดีเอ็นเอให้มีลำดับเบสที่ถูกต้องในระดับเซลล์ของผู้ป่วยหรือสัตว์ทดลอง ซึ่งหมายความว่าโรคที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรมจะสามารถรักษาให้หายขาดเป็นปกติได้โดยอาจมีการประยุกต์ใช้ร่วมกับเซลล์ต้นกำเนิด (Stem cell) และมีแนวโน้มว่าอาจจะประยุกต์ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง หรือโรคเรื้อรังอื่นๆ ได้ด้วย รวมไปถึงต้านการติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัสต่างๆ อย่างไรก็ตามการทดลองเหล่านี้ยังอยู่ในขั้นวิจัย ปรับปรุงและพัฒนา ในปี พ.ศ. 2558 กลุ่มนักวิจัยในประเทศจีนได้ทำการทดลองประยุกต์ระบบ CRISPR/Cas9 กับตัวอ่อนของคนสำหรับรักษาโรคทางพันธุกรรม ซึ่งสะเทือนวงการวิทยาศาสตร์อย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นผลการทดลองที่มีการคลาดเคลื่อนในกลุ่มตัวอย่าง คือ มีตัวอย่างที่มีการแก้ไขแต่ยังไม่เหมาะสมในจำนวนเพียงเล็กน้อย และผลที่นอกเหนือความคาดหมายอีกจำนวนมาก รวมไปถึงความกังวลด้านจริยธรรมสำหรับการทดลองในมนุษย์ ในอนาคตอันใกล้ หากระบบ CRISPR/Cas9 ถูกศึกษาเพิ่มเติมและควบคุมคุณภาพได้อย่างเหมาะสม อาจจะมียาชีววัตถุในกลุ่มนี้เพิ่มเข้ามาอีกหนึ่งกลุ่มซึ่งสามารถประยุกต์ใช้รักษาได้อีกหลายๆ โรคในเร็ววันนี้ แหล่งอ้างอิง/ที่มา Barrangou, Rodolphe, and Jennifer A Doudna. 2016. "Applications of CRISPR Technologies in Research and beyond." Nature Biotechnology 34(9): 933–41. http://www.nature.com/doifinder/10.1038/nbt.3659 "CRISPR-Cas9 Based Therapeutics: Not So Fast." 2015. EBioMedicine 2(5): 365. Lander, Eric S. 2016. “The Heroes of CRISPR.” Cell 164(1–2): 18–28. http://dx.doi.org/10.1016/j.cell.2015.12.041 เปิดอ่านด้วย Google Doc Viewer ดาวน์โหลดบทความ (pdf) ดูบทความอื่นๆ งานประชุมวิชาการที่กำลังเปิดรับสมัคร Clinical Pharmacy Conference: Spotlight on Special Populations (SSP) 6-8 มีนาคม พ.ศ. 2567 หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้นการบริบาลทางเภสัชกรรม ปีงบประมาณ 2567 รายละเอียดการรับสมัครของแต่ละสาขาอาจมีความแตกต่างกัน โปรดอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม ดูตารางการประชุมประจำปี บทความที่ถูกอ่านล่าสุด CRISPR/Cas9 ความหวังใหม่สำหรับการรักษาโรคต่างๆ ในระดับสารพันธุกรรม 1 วินาทีที่แล้วอันตรายของครีมหน้าขาว ที่ผสมไฮโดรควิโนน 4 วินาทีที่แล้วโปรดนำยาที่ใช้เป็นประจำไปโรงพยาบาลด้วย 13 วินาทีที่แล้วยาบ้า 13 วินาทีที่แล้วยาที่ไม่ควรกินร่วมกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 17 วินาทีที่แล้วกินยาพร้อมนม ได้ผลหรือไม่ ? 20 วินาทีที่แล้วยาหอม กับคนวัยทำงาน 1 นาทีที่แล้วไมเกรน .. กินยาไม่ถูกต้องอันตรายมากกว่าที่คิด 1 นาทีที่แล้วยาคุมกำเนิดชนิดฉีด 1 นาทีที่แล้วกระเทียมดำ 1 นาทีที่แล้ว อ่านบทความทั้งหมด ข้อจำกัดด้านลิขสิทธิ์บทความ: บทความในหน้าที่ปรากฎนี้สามารถนำไปทำซ้ำเพื่อเผยแพร่ในเว็บไซต์ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ โดยไม่มีวัตถุประสงค์ในเชิงพาณิชย์ได้ ทั้งนี้การนำไปทำซ้ำนั้นยังคงต้องปรากฎชื่อผู้แต่งบทความ และห้ามตัดต่อหรือเรียบเรียงเนื้อหาในบทความนี้ใหม่โดยเด็ดขาด และกรณีที่ท่านได้นำบทความนี้ไปใช้ในเว็บเพจของท่าน ให้สร้าง Hyperlink เพื่อสร้าง link อ้างอิงบทความนี้มายังหน้านี้ด้วย - 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

19


จงยกตัวอย่างการใช้ Metabolic measurement ในโรคมะเร็ง

การศึกษาที่ผ่านมาพบว่า การบริโภคอาหารมีผลต่อการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง แต่การศึกษาการบริโภคอาหารกับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง ด้วยวิธีการตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal Immunochemical Test: FIT) ให้ผลบวกในปัจจุบันนั้นยังไม่ได้ข้อสรุปที่แน่ชัด ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคอาหารและปัจจัยอื่นๆ กับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง ด้วยวิธีการตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (FIT) ให้ผลบวก ในประชาชน 50-70 ปี ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบ case-control study ทำการเก็บข้อมูลในช่วงเดือน มีนาคม 2563 โดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 216 คน กลุ่มศึกษาและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 108 คน วิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติการถดถอยพหุลอจิสติก นำเสนอขนาดความสัมพันธ์ด้วยค่า Adjusted odds ratio (ORadj) และช่วงเชื่อมั่นที่ 95% ผลการศึกษาพบว่า การบริโภคอาหารมีความสัมพันธ์กับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง ด้วยวิธีการตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (FIT) ให้ผลบวก อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (ORadj=1.39, 95%CI; 0.65-3.00, p=0.398) แต่พบว่า ผู้ที่มีการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า (ORadj=2.38 , 95%CI; 1.15-4.90, p=0.019) ผู้ที่มีโรคประจำตัวด้วยโรคกลุ่ม Metabolic syndrome (ORadj=2.62 , 95%CI; 1.35-5.10 , p=0.005) และผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ (ORadj=2.08 , 95%CI: 1.15-3.75, p=0.015) มีความสัมพันธ์กับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง ด้วยวิธีการตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (FIT) ให้ผลบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p value< 0.05) เมื่อควบคุมผลกระทบจากตัวแปรอื่นๆ ในสมการสุดท้าย ดังนั้น เพื่อเป็นการลดปัจจัยเสี่ยง ควรมีการให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพทั้งในชุมชนและหน่วยบริการสุขภาพ เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่และการใช้ยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยโรค Metabolic syndrome เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงในอนาคต สมาคมแพทย์ส่องกล้องทางเดินอาหารไทย. (2557). แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมแพทย์ระบบทางเดินอาหารไทย. 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

20


ให้นักเรียนคิดค้นวิธีการทำ Vaccine โดยใช้หลักการทาง Physic, Math, Biochemistry

การรับเข้าศึกษา รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ(โดยนักศึกษาต่างชาติจะต้องได้เรียน ภาษาไทยมาก่อนอย่างน้อย 4 เดือน หรือ สามารถสื่อสารภาษาไทยได้) 5.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น ไม่มี 5.6 การให้ปริญญาแก่ผู้ส าเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นด้วย 10

-.50 -.25 +.25 เต็ม 0 -35% +30% +35%

ผลคะแนน 53.5 เต็ม 170

แท๊ก หลักคิด
แท๊ก อธิบาย
แท๊ก ภาษา