1 |
ข้อใดพบใน Cyanobacteria ?
|
3. Polymerase |
|
จากการค้นคว้า โมเลกุลของเอนไซม์ RNA Polymerase ในสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรีย จะมีส่วนประกอบที่เรียกว่า sigma factor ซึ่งพบใน cyanobacteria |
การค้นหา
การค้นหาเพิ่มเติม |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
นกกาเหว่าไข่ไว้ให้แม่กาฟัก ภาวะนี้มีข้อใดถูกต้อง
|
1. Parasitism |
|
นกกาเหว่าได้ประโยชน์ นกกาเสียประโยชน์ เพราะ เมื่อมันฟักออกมา มันจะดันให้ไข่ของเจ้าของรังตกลงไป |
การค้นหาต่างๆ |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
ลักษณะมีเครา (M) เป็นลักษณะเด่นต่อไม่มีเคราและมีการถ่ายทอดเป็นแบบ sex limit สามีภรรยาคู่หนึ่งแต่งงานกัน โดยสามี มีเครา ผิวปกติ หมู่เลือดโอ และที่ผิวเม็ดเลือดแดงไม่มี Ag-Rh ส่วนภรรยา ไม่มีเครา ผิวปกติ หมู่เลือดบี ผิวเม็ดเลือดแดงมี Ag-Rh มีบุตรด้วยกันแล้ว 2 คน เป็นเพศชาย ผิวเผือก หมู่เลือดโอและเม็ดเลือดแดงไม่ตกตะกอนเมื่อทำปฏิกิริยากับ Ab-Rh และมีเครา ส่วนอีกคนเป็นเพศหญิง ไม่มีเครา ผิวปกติ หมู่เลือดโอและเม็ดเลือดแดงไม่ตกตะกอนเมื่อทำปฏิกิริยากับ Ab-Rh ข้อใดบ้างไม่ถูกต้อง (กำหนดให้ A เป็น allele แสดงลักษณะผิวปกติ และ d เป็น allele แสดงหมู่เลือดระบบ Rh) (คัดแล้ว)
|
2. ภรรยามีโอกาสมี genotype แสดงลักษณะการมีเคราทั้งแบบ homozygous และ heterozygous |
|
ถ้าเป็นในลักษณะ Heterozygous ภรรยาจะต้องแสดงลักษณะมีหนวดออกมา เพราะ ยีนเด่นจะข่มยีนด้อยทำให้แสดงเป็นมีหนวด |
การค้นหาข้อมูล
การวิเคราะห์ |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
พืช A มีชุดโครโมโซม 2n = 10 ส่วนพืชชนิด B มีชุดโครโมโซม 2n = 8 ข้อใดแสดงการเกิดสปีชีส์ใหม่แบบมหาภาค (Macroevolution)
|
3. พืชชนิดใหม่ที่สืบพันธุ์ต่อไปได้สร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีชุดโครโมโซม 2n = 16 |
|
จากการวิเคราะห์ การที่ได้ชุดโครโมโซมใหม่เป็น 2n=16 เป็นการเกิดสปีชีส์ใหม่อย่างนึง จึงเป็นแบบมหาภาค |
การคาดเดา
การวิเคราะห์ |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
|
5. ไม่มีข้อใดถูกต้อง |
|
จากการคาดเดา |
การคาดเดา |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
จากภาพแสดงการเข้าจับกันของโครโมโซมคู่เหมือนกันของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ข้อใดไม่ถูกต้อง
|
5. มีการเรียงของยีนสลับตำแหน่ง |
|
ข้อนี้ไม่ทราบเลยค่ะ |
การคาดเดา |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
การตรวจปอดของทารกเพื่อพิสูจน์ว่าเด็กทารกมีการเสียชีวิตจากการฆ่าหรือเสียชีวิตเองทำได้จากการวัดค่าใดของปอด
|
5. ได้ทุกค่า |
|
ทุกๆค่าเป็นการวัดค่าของปอด และ สามารถนำมาใช้ประกอบเพื่อระบุได้ว่าทารกเสียชีวิตเองหรือโดนฆาตกรรม |
การหาข้อมูลต่างๆ |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดลำเลียงอยู่ในรูปสารใดมากที่สุด
|
2. HCO3- |
|
จากการค้นหา คาร์บอนไดออกไซด์ถูกลำเลียงในรูปHCO3- มากที่สุด พบเป็น 60% ของทั้งหมด |
การค้นหาในอินเตอร์เน็ต |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
ข้อใดจับคู่ชนิดของฮอร์โมนและหน้าที่หรือคำอธิบายหรือบอกความเกี่ยวข้องไม่ถูกต้อง
|
3. TSH. | Negative feedback control |
|
ในตัวเลือกข้อนี้ไม่พบความเกี่ยวข้อง แต่ในข้ออื่นๆพบความเกี่ยวข้อง เช่น ACTH ที่สร้าง Cortisol,HCG เป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและการตกไข่ของมนุษย์ จึงเกี่ยวข้องกับแผ่นตรวจครรภ์ |
การค้นหาข้อมูล
การตัดตัวเลือก |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
ทำไมทิวลิปต้องการอากาศเย็นก่อนออกดอก
|
2. Thermonastic |
|
Thermonastic คือ มีอุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า คิดว่าข้อนี้มีความไปได้ที่สุดจึงตอบ |
การหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ต |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
ปัจจุบันในการตรวจหมู่เลือดเพื่อหาความเป็นพ่อ แม่ ลูก อาจจะไม่ได้ผลที่ถูกต้องเสมอไป เนื่องจากลูกไม่จำเป็นต้องมีหมู่เลือดที่ตรงกับพ่อหรือแม่ ดังนั้นเทคนิคทาง molecular จึงเข้ามาแทนที่เพื่อให้เกิดความแม่นยำของการตรวจมากขึ้น โดยเทคนิคที่นำมาใช้ในการตรวจหาพ่อ แม่ ลูก คือการทำ DNA fingerprint ที่ใช้หลักการของ Restriction Fragment Length Polymorphism (RFLP) และการเปรียบเทียบชิ้นส่วน DNA โดยหลักการ gel electrophoresis
ครอบครับของ นายฝ้ายและนางสาวไอซ์ มีลูกด้วยกัน 4 คน โดยลูกชาย 1 คน และลูกสาว 1 คน เป็นลูกที่เกิดกับเค้าทั้งสอง ลูกสาวอีก 1 คนเป็นลูกที่เกิดกับนางสาวไอซ์กับสามีเก่า และลูกชายอีก 1 คน เป็นลูกบุญธรรมที่นายฝ้ายรับมาเลี้ยงดู โดยครอบครัวนี้ได้ไปตรวจลักษณะของ DNA และได้ผลวิเคราะห์ ดังภาพ
คำถาม : เด็กคนใดที่เป็นลูกที่เกิดจากนายฝ้ายและนางสาวไอซ์
|
2. เด็ก A และ C |
|
จากภาพพิมพ์DNA พบว่าเด็กAและเด็กC มีภาพพิมพ์ส่วนที่เหมือนทั้งนายฝ้ายและนางสาวไอซ์ จึงสรุปได้ว่า เด็กทั้ง2คนเป็นลูกแท้ๆของนายฝ้ายกับนางสาวไอซ์ |
การค้นหาวิธีการดูภาพพิมพ์DNA |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
สารพิษที่พบในปลาปักเป้าคือข้อใด
|
3. Saxitoxin |
|
จากการค้นหา Saxitoxin คือสารพิษที่อยู่ในปลาปักเป้า |
แหล่งที่มา : www.thaihealth.or.th |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
ข้อใดเป็นชื่อของยาที่ลดการตอบสนองของเส้นประสาทที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปวด
|
1. Aspirin |
|
Aspirin เป็นยาที่ใบ้เพื่อป้องกันการรวมกลุ่มของเกร็ดเลือดในโรคที่เกี่ยวกับสมองหรือหัวใจ และ บรรเทา อาการปวด บวมและการอักเสบในโรคข้ออักเสบ |
ข้อมูลจาก : https://www.fda.moph.go.th |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
งูในข้อใดมี สารพิษต่อระบบประสาท (Neurotoxin) ในปริมาณรวมพวกสูงที่สุด
|
1. A, B และ C |
|
จากการค้นหา งูเห่า งูจงอาง และ งู ทับสมิงคลา เป็นงูที่มีพิษต่อระบบประสาท แต่งูแมวเซา และ งูกะปะ เป็นงูที่มีพิษต่อระบบโลหิต |
การค้นหา
การใช้เทคโนโลยีให้เกืดประโยชน์อย่างเหมาะสม |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
หากรับประทาน แมงดาถ้วย เข้าไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์สิ่งที่ไม่ควรทำคือข้อใด
|
5. ไม่มีข้อที่ควรทำ |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
โรค Transposition of the great vessel (TGV) คือความผิดปกติตั้งแต่แรกเกิดของเด็กที่มีการสลับตำแหน่งของเส้นเลือด โดยให้กระบวนการทำงานของหัวใจ ดังภาพการจำลอง
คำถาม : ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง หากเด็กทารกที่เกิดมามีภาวะอาการดังกล่าว
|
5. เลือดที่ไหลไปยังส่วนต่างๆของร่างกายถูกแยกไหลไปสองวงจร ทำให้เลือดไม่ไปยังส่วนของร่างกายอย่างเพียงพอ |
|
สาเหตุในการตอบคือการคาดเดา และ วิเคราะห์ |
ตัวเลือกข้ออื่นๆ มีความเป็นไปได้สูง เช่น ตัวเลือก1 กับ ตัวเลือก 2 ที่มีความสอดคล้องกัน และถ้าตัวเลือกทั้ง2ถูก ตัวเลือกที่3 ก็มีสิทธิถูก เส้นเลือดAortaเป็นเส้นเลือดแดงใหญ่ ผนังมีความหนามากว่าเส้นเลือดดำ เพราะฉะนั้น ความดันก็จะสูงกว่าปกติ ทำให้เลือดส่งไปที่ปอดเยอะขึ้น |
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
ปัจจุบันสัตว์หลายชนิดได้รับผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อมหลายประการ เช่น การทำลายแหล่งที่อยู่อาศัยและการล่า
สัตว์ของมนุษย์ ซึ่งผลกระทบต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและสภาพอากาศที่แปรปรวนของโลก เช่น อุณหภูมิร้อนจัดหรือหนาวจัด หรือการมีฤดูกาลที่ยาวนานกว่าปกติ ส่งผลให้สัตว์ต้องเผชิญกับสภาพอากาศที่แปรปรวนอย่างรุนแรง ซึ่งไม่เหมาะกับการดำรงชีวิต สัตว์บางชนิดจึงหาอาหารได้ยากขึ้น การเจริญเติบโตของเชื้อโรคและปรสิตบางชนิดที่เป็นอันตรายต่อสัตว์เพิ่มขึ้น ทำให้ประชากรสัตว์บางชนิดไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพดังกล่าวได้และลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว
คำถาม : จากข้อมูล ผลกระทบต่อสัตว์ในข้อใดที่ไม่ได้เกิดจากภาวะโลกร้อน
|
2. การสูญพันธุ์ของสิงโตภูเขา เพราะพื้นที่ป่าถูกตัดทำลายจึงถูกล่าได้ง่ายขึ้น |
|
เพราะผลกระทบของสัตว์อื่นๆมีผลมาจากภาวะโรคร้อนทั้งหมด ยกเว้นตัวเลือกนี้ |
การวิเคราะห์ |
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากตับอ่อนสร้าง “ฮอร์โมนอินซูลิน” ได้น้อย หรือสร้างไม่ได้เลย ซึ่งฮอร์โมนชนิดนี้ทำหน้าที่ช่วยให้ร่างกายสลายน้ำตาลมาใช้เป็นพลังงาน เมื่ออินซูลินในร่างกายไม่เพียงพอ ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ ทำให้ปริมาณน้ำตาลในเลือดสูง ร่างกายจะปรับตัวไปใช้พลังงานจากการสลายสารอาหารอื่น เช่น ไขมัน หรือโปรตีน ซึ่งก่อให้เกิดการสะสมของของเสียที่เป็นอันตรายในเลือด น้ำตาลและของเสียปริมาณมากทำให้เลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความเข้มข้นสูง ร่างกายจึงต้องขับน้ำตาลและของเสียผ่านทางปัสสาวะ ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานปัสสาวะบ่อยในปริมาณมากและรู้สึกกระหายน้ำ
คำถาม : ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานปัสสาวะบ่อยในปริมาณมาก
|
1. น้ำจะออสโมซิสจากเซลล์มาสู่เลือด |
|
เพราะ ถ้าเลือดมีความเข้มข้นสูงกว่าน้ำในเซลล์ เลือดจะต้องออสโมซิสเข้ามาสู่เซลล์แทนที่จะเป็นน้ำจากเซลล์ออสโมซิสมาสู่เลือด เพราะ สารจากความเข้มข้นมากจะออสโมซิสมาสู่สารที่มีความเข้มข้นน้อยกว่า |
การวิเคราะห์
การคาดเดา |
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
โรคลมแดด เกิดจากการที่ร่างกายอยู่กลางแจ้ง แดดร้อนจัดเป็นเวลานาน ร่างกายจึงปรับสมดุลอุณหภูมิไม่ทัน ทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิสูงถึง 40 – 41 องศาเซลเซียส โดยอาการของผู้ป่วยที่เป็นลมแดด คือ อาการเป็นลม เพ้อ หมดสติ และอาจเสียชีวิตได้ข้อใดกล่าวถึงวิธีการที่สามารถป้องกันโรคลมแดดได้ถูกต้อง
|
4. สวมใส่เสื้อผ้าที่เบาบางเพื่อเพิ่มการระเหยของเหงื่อและการพาความร้อน |
|
การสวมใส่เสื้อผ้าที่บางๆน่าจะเป็นวิธีที่ดีที่สุด เพราะระบายความร้อนได้ดี และ ทำให้เหงื่อสามารถออกมาได้สะดวก ทำให้ร่างกายปรับตัวได้ |
การวิเคราะห์
การตัดตัวเลือก |
8 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
ปัจจุบันในการตรวจหมู่เลือดเพื่อหาความเป็นพ่อ แม่ ลูก อาจจะไม่ได้ผลที่ถูกต้องเสมอไป เนื่องจากลูกไม่จำเป็นต้องมีหมู่เลือดที่ตรงกับพ่อหรือแม่ ดังนั้นเทคนิคทาง molecular จึงเข้ามาแทนที่เพื่อให้เกิดความแม่นยำของการตรวจมากขึ้น โดยเทคนิคที่นำมาใช้ในการตรวจหาพ่อ แม่ ลูก คือการทำ DNA fingerprint ที่ใช้หลักการของ Restriction Fragment Length Polymorphism (RFLP) และการเปรียบเทียบชิ้นส่วน DNA โดยหลักการ gel electrophoresis
ครอบครับของ นายฝ้ายและนางสาวไอซ์ มีลูกด้วยกัน 4 คน โดยลูกชาย 1 คน และลูกสาว 1 คน เป็นลูกที่เกิดกับเค้าทั้งสอง ลูกสาวอีก 1 คนเป็นลูกที่เกิดกับนางสาวไอซ์กับสามีเก่า และลูกชายอีก 1 คน เป็นลูกบุญธรรมที่นายฝ้ายรับมาเลี้ยงดู โดยครอบครัวนี้ได้ไปตรวจลักษณะของ DNA และได้ผลวิเคราะห์ ดังภาพ
คำถาม : เด็กคนใดเป็นลูกบุญธรรมของครอบครัวนี้
|
4. เฉพาะ เด็ก D |
|
เด็กD มีผลของภาพพิมพ์DNAไม่คล้ายกับน.ส.ไอซ์กับนายฝ้าย ทำให้รู้ได้ว่า เด็กD เป็นลูกบุญธรรม |
เด็กA,C = ลูกของนายฝ้ายกับนางสาวไอซ์
เด็กB = ลูกของนางสาวไอซ์และสามีเก่า
เมื่อได้เช่นนี้ให้ดูที่เด็กDว่าตรงมั้ย ถ้าไม่ก็ตอบ |
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|