- โครงการมาแรง | TEST Series

การพัฒนาและทดสอบความถนัดทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ Medical Science Aptitude Development and Testing | IMEDDAT
- ครั้งที่ 1 ประจำปี 2566 | เดือนกุมภาพันธ์ 2566
- รอบคัดเลือกตัวแทนภูมิภาค (Selection of Regional Representatives) ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ฯ ทดสอบผ่านระบบการทดสอบดิจิตัล (TechEd Assessment Testing)

การพัฒนาและทดสอบความถนัดทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนสามารถประเมินความพร้อมในระดับสากลและความถนัดในการเตรียมศึกษาต่ออุดมศึกษาได้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งโรงเรียนทราบผลสมรรถนะผู้เรียนเพื่อใช้ในการพัฒนาผู้เรียนในสถานศึกษาของตนได้อย่างตรงจุด ในแต่ละสาขาวิชาจะสอดแทรกการประเมินทักษะและความรู้เชิงวิทยาศาสตร์การแพทย์ด้วย ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่
- 1) หลักคิดพื้นฐานของการคิดเชิงวิพากษ์และการประยุกต์ใช้ความรู้ (Critical thinking and application of knowledge)
- 2) ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม (Innovative thinking skills)
นวัตกรรมการทดสอบ | โดยโมเดลการวัดผล LRWV (LRWV measurement model)
- การวัดผลตามทักษะสำคัญ การอ่าน (Reading)
- การวัดผลตามทักษะสำคัญ เขียน (Writing) (ผ่านการเรียบเรียงการพิมพ์)
- ครั้งแรก | การวัดผลตามทักษะสำคัญ การวิเคราะห์เสมือน (Virtual Analysis)
- การวัดผลตามทักษะสำคัญ การฟัง (Listening)
-
การทดสอบ (Testing) | ทดสอบความถนัดทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
การแข่งขัน (Competition) | แข่งขันความถนัดทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ - ภาษาไทย | การทดสอบ : ค่าสมัคร 180 .- | การแข่งขัน : ค่าสมัคร 500 .-
- English | Testing : ค่าสมัคร 500 .- | Competition : ค่าสมัคร 1200 .-
- กำหนดการทดสอบ | 24 - 28 กุมภาพันธ์ 2566
- กำหนดการประกาศผลสอบและประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าสอบระดับประเทศ | 4 มีนาคม 2566
- กำหนดการทดสอบระดับประเทศ (National) | 25 มีนาคม 2566


































- อิงตามโรงเรียนที่ผู้สมัครเข้าร่วมการทดสอบศึกษาอยู่
- เวลาสอบ 08.40 - 12.00 น. | วันเสาร์ที่ 25 มีนาคม 2566
- ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร



- หลักสูตรแนะนำ | Featured Course
TECH Series | หลักสูตรต่อเนื่อง
- แนะแนวการศึกษาต่อ ณ CU
- ดูงานงานจริงอุตสาหกรรม
- เรียนรู้ผ่านการเรียน และการนำความรู้มาประยุกต์ใช้
- เรียนรู้การสร้าง นวัตกรรม
- เรียนรู้การสร้าง StartUp
- บทเรียนเตรียมพร้อมการเรียนวิศวกรรมศาสตร์กว่า 55 ชม.

ระยะยาว | Long term
TECH SERIES
หลักสูตรระยะยาว ออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจศาสตร์วิชาที่ตนเองสนใจ และศิลป์ที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีหลักสูตรมากกว่า 5+ ที่กำลังออกแบบเพื่อให้เรียนแบบผสมสาน (Online&Workshop&ดูงานอุตสาหกรรม&ดูงานดิจิตัล&Project เป็นต้น)
- อาจารย์และผู้เชี่ยวชาญ

ระยะสั้น | Short term
FiT SERIES
หลักสูตรระยะสั้น ให้ผู้เรียนได้มีกิจกรรมร่วมกัน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ออกแบบให้ผู้เรียนได้ใช้การคิดวิเคราะห์ ออกแบบ เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้การนำทักษะและความรู้ มาใช้ได้อย่างมีคุณภาพ
- ผู้เชี่ยวชาญ
- 1 วัน - 3 วัน

การทดสอบ | active learning
TEST SERIES
อีกขั้นของการทดสอบระดับประเทศ โดยการออกแบบให้การสอบมีการประยุกต์ทักษะและวิชาเฉพาะสาขา เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาและประเมินตัวเองได้ ยกตัวอย่าง เช่น
EDAT - Engineering Skills
MEDDAT - Medical Skills
BDAT - BioMedical Skills
EcoDAT - Economy Skills
เป็นต้น
- ผู้เชี่ยวชาญ
- เรียนรู้ผ่านการทดสอบ
ส่วนหนึ่งของอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน | IEDAT/EDAT

ดร.นภาพร ศรีเด่น

ดร.รุ่งโรจน์ ไกรสิทธิพาณิชย์

อ.ดร.สรร รัตนสัญญา

ดร. ขวัญจิรา แก้วแฝก

ดร.วศิทธิ์ ศิริลาภอนันต์
ที่ปรึกษาโครงการ | TECH Education
ที่ปรึกษาโครงการ | Project Consultant

อาจารย์ วศ.ดร. นิรุทธ์ พรมบุตร | มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย

อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย
(อดีต) ผู้ช่วยคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

อาจารย์ ดร.สรร รัตนสัญญา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (KMUTNB) ประเทศไทย

อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (KMUTNB) ประเทศไทย

พี่หมอไก่ | นายแพทย์ (นพ.) ชัยชนะ ชนะพรมมา

แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว กระทรวงสาธารณสุข
(โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์)
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

พี่หมอเป้ | ทันตแพทย์หญิง (ทพญ.) สุขุมาล บุญลือ

ทันตแพทยปฏิบัติการ กระทรวงสาธารณสุข
(โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์)
สาขาวิชาศัลยศาสตร์ช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่